ความรู้เรื่องRollerBearingและRockerBearing

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ สืบเนื่องจากเมื่อในสัปดาห์ที่แล้วนั้นผมได้ทำการตอบคำถามของน้องผู้หญิงท่านหนึ่งไปโดยที่ใจความของคำถามนั้นมีดังต่อไปนี้ครับ “ทำไมตรงบริเวณรอยต่อระหว่างเสาตอม่อกับคาน คอร เหมือนในรูปๆ นี้จึงมักที่จะมีการทำเป็นช่องว่างเอาไว้คะ เหมือนเอาอะไรมาหนุนเอาไว้ ไม่ทราบว่าจุดประสงค์นั้นเพื่อทำให้จุดรองรับนี้เป็นแบบ ROLLER หรือเปล่าคะ ? และเหตุใดเค้าจึงต้องยกขึ้นนิดนึงด้วยคะ ?” … Read More

ปัญหาการเลือกวิธีการก่อสร้างต่อเติมหลังคา

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ เพื่อนๆ มีบ้านซึ่งทำจากโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กอยู่หลังหนึ่งซึ่งเป็นมรดกตกทอดมาจากคุณพ่อคุณแม่ ซึ่งบ้านหลังนี้ก็มีอายุมากกว่า 30 ปีแล้ว หากเพื่อนๆ มีความต้องการที่จะทำการก่อสร้างต่อเติมส่วนที่เป็นโครงสร้างหลังคาให้มีการขยายออกไปจากส่วนที่เป็นอาคารเดิมของเพื่อนๆ … Read More

ปัญหาการนำเอาค่าแรงดัดมาคิดผลของแรงเฉือนทะลุในโครงสร้างฐานราก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากรูปที่แสดงจะเห็นได้ว่าเป็นกรณีของโครงสร้างฐานรากแบบตื้นหรือ SHALLOW FOUNDATION ซึ่งจะเป็นการวางตัวโครงสร้างฐานรากลงไปอยู่บนดินโดยตรงเลย โดยต้องถือว่าฐานรากทั้ง 2 … Read More

รายการคำนวณอธิบายว่าเมื่อใดที่จะต้องนำเอาค่าแรงดัดมาคิดผลของแรงเฉือนทะลุในโครงสร้างฐานราก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ในสัปดาห์ที่แล้วผมได้ทำการอธิบายแก่เพื่อนๆ ให้ได้เข้าใจถึงผลของรูปทรงแบบที่มีความสมมาตรและไม่มีความสมมาตรของตัวโครงสร้างฐานรากแบบ ON GROUND ที่มีต่อค่าหน่วยแรงใต้ฐานรากว่าเป็นเช่นใด ซึ่งผลก็ค่อนข้างดีและได้รับความสนใจจากเพื่อนๆ ของผมหลายๆ คนเลย ซึ่งส่วนใหญ่อยากที่จะได้เห็นรายการคำนวณประกอบการอธิบายด้วย ในวันนี้ผมจึงตัดสินใจเขียน … Read More

การเปลี่ยนแปลงรายละเอียดในโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ เอาไว้ว่าในครั้งต่อไปที่เราจะมาพบกัน ผมจะขออนุญาตแสดงเป็นตัวอย่างในการคำนวณให้เพื่อนๆ ได้ดูเลยก็แล้วกัน เพื่อนๆ จะได้สามารถมองเห็นภาพออกว่าเพราะเหตุใดผมจึงได้ทำการอธิบายเอาไว้ว่า ในกรณีที่ทางผู้รับจ้างทำงานก่อสร้างนั้นมีความต้องการที่จะเปลี่ยนชั้นคุณภาพของเหล็กเสริมนั้น เราไม่สามารถที่จะอาศัยวิธีในการเทียบสัดส่วนระหว่างค่ากำลังของคอนกรีตและเหล็กเสริมโดยตรงได้ ซึ่งการเปลี่ยนจะสามารถทำได้ก็ต่อเมื่อได้การทำการออกแบบชิ้นส่วนโครงสร้างนั้นๆ ใหม่เท่านั้นนะครับ เรามาดูตัวอย่างในสมการแรกก่อนเลยนั่นก็คือ สมการที่ใช้ในการคำนวณหาค่าโมดูลัสยืดหยุ่นของวัสดุคอนกรีต … Read More

ปัญหาการคำนวณหาระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ   จากรูปที่แสดงจะเห็นได้ว่าเป็นกรณีของโครงสร้างฐานรากที่ใช้เสาเข็มในการถ่ายน้ำหนักลงไปสู่ดินที่อยู่ข้างล่าง โดยที่โครงสร้างฐานรากของผมนั้นมีความหนาเท่ากับ 1.00 M หากผมมีความต้องการที่จะทำการออกแบบโครงสร้างฐานรากนี้โดยที่ผมจะอาศัยสมมติฐานว่าฐานรากของผมนั้นเป็นแบบ … Read More

การคำนวณหาค่าความสามารถในการรับกำลังของเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ   วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการตอบคำถามของเพื่อนๆ ที่มักจะทำการสอบถามเข้ามาในทำนองว่า เพราะเหตุใดทางภูมิสยามฯ จึงทำการให้ข้อมูลของค่าความสามารถในการรับน้ำหนักของเสาเข็มขนาดหน้าตัดเสาเข็มชนิดต่างๆ ออกมาได้ดังรูปแรกที่ผมได้แนบมาในโพสต์ๆ นี้ ผมเลยมีความคิดว่า น่าที่จะเป็นการดีหากผมทำการชี้แจงแถลงไขคำถามข้อนี้ให้แก่เพื่อนๆ ทุกๆ … Read More

ปัญหาการเสริมเหล็กในพื้นยื่นคอนกรีตเสริมเหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ   โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากรูปที่แสดงจะเห็นได้ว่าเป็นกรณีของการที่เราต้องการที่จะทำการก่อสร้างพื้นยื่นคอนกรีตเสริมเหล็กหรือ REINFORCED CONCRETE CANTILEVER SLAB โดยที่จะมีจุดรองรับเป็นคานคอนกรีตเสริมเหล็ก … Read More

การต่อเติมโครงสร้างหลังคากันสาด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ   โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากรูปที่แสดงจะเห็นได้ว่าเป็นกรณีของรูปที่แสดงด้านริมนอกสุดของตัวอาคาร โดยที่เงื่อนไขในการก่อสร้างตัวอาคารเดิมก็คือ ในโครงการก่อสร้างแห่งนี้ไม่ได้มีการดำเนินการทดสอบดินเพื่อที่จะหาคุณสมบัติต่างๆ ของดินเอาไว้เลยแต่ก็ยังถือว่าเป็นเรื่องที่ดีว่า อาคารเดิมหลังนี้ได้มีการก่อสร้างขึ้นโดยที่ใช้โครงสร้างเสาเข็มยาว … Read More

รอยแตกในผนังอิฐก่อใต้พื้นชั้นล่างของอาคาร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ เมื่อช่วงเวลาตลอดสัปดาห์ที่ผ่านมาก่อนหน้านี้ผมได้ทำการพูดถึงและหยิบยกและนำเอาประเด็นของการที่อาคารนั้นเกิดการวิบัติเนื่องจากปัญหาของการที่เราละเลยในเรื่องของสภาพชั้นดินซึ่งในตัวอย่างที่ผมนำเอามาให้เพื่อนๆ ได้รับชมนั้นก็จะเป็นปัญหาที่มีความใหญ่มากเลยทีเดียวและเมื่อวันศุกร์ที่ผ่านมาผมก็ได้นำเอาปัญหาที่ต้องถือว่ามีความเล็กน้อยหรือเบาบางกว่าปัญหาในกรณีก่อนหน้านี้เป็นอย่างมากแต่ในขณะเดียวกันก็ได้สร้างความปวดเศียรเวียนเกล้าให้แก่เจ้าของบ้านไม่น้อยเลยทีเดียวเอามาฝากเพื่อนๆ ด้วยซึ่งจะเป็นกรณีที่ทางเจ้าของบ้านได้ทำการต่อเติมส่วนหลังคากันสาดเหล็กออกมา โดยที่ปลายข้างหนึ่งนั้นยึดเข้ากับตัวบ้านเดิมและปลายอีกข้างหนึ่งนั้นก็ถูกยึดเข้ากับโครงสร้างพื้นที่ไม่ได้ทำการลงเสาเข็มใดๆ เอาไว้เลย ซึ่งพอเวลาผ่านไปผลที่ได้ตามมาก็คือ โครงสร้างพื้นที่ไม่ได้ทำการลงเสาเข็มใดๆ เอาไว้ก็เกิดการทรุดตัวลงไป ซึ่งจากการสอบถามไปยังเจ้าของบ้านก็ได้รับคำยืนยันมาว่า โครงสร้างส่วนต่อเติมนี้เพิ่งจะมีการก่อสร้างมาได้เพียงไม่กี่ปีเท่านั้นแต่จากในรูปเพื่อนๆ … Read More

1 5 6 7 8 9 10 11 34