ถาม-ตอบชวนสนุก – ปัญหาโครงสร้างหลังคายื่น กับประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากรูปโครงสร้างหลังคายื่น หรือ CANOPY ROOF STRUCTURE A B … Read More

ระยะห่างระหว่างแผ่นเหล็กกับโครงสร้างฐานคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ เพื่อนๆ อาจจะสงสัยว่าเพราะเหตุใดช่วงนี้ผมมักจะพูดถึงเรื่องราวต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องการออกแบบโครงสร้างเหล็กรูปพรรณเยอะนิสนึง นั่นเป็นเพราะชุดคำถามที่ผมได้นำเอามาโพสต์ในช่วงนี้จะมาจากการตั้งคำถามของน้องผู้หญิงท่านหนึ่งเกี่ยวกับเรื่องๆ นี้ ซี่งผมมีความยินดีเป็นอย่างยิ่งที่จะมาทยอยตอบให้ ดังนั้นผมเชื่อว่าเรื่องราวในวันนี้น่าที่จะเป็นประโยชน์ต่อน้องท่านนี้และเพื่อนๆ ทุกคนด้วยนั่นก็คือ “หนูสังเกตเห็นว่าหลสายๆ ครั้งที่บริเวณใต้แผ่นเหล็กหรือ BASE PLATE … Read More

วิศวกรรมการคำนวณ – การออกแบบการสั่น อันเนื่องมาจากเครื่องจักร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ เอาไว้เมื่อสัปดาห์ก่อนว่าในวันนี้ผมจะขออนุญาตนำเอาเรื่องราวรายละเอียดต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องการออกแบบการสั่นอันเนื่องมาจากเครื่องจักรเอามามาพูดถึงและอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ให้มีความรู้และความเข้าใจที่มากยิ่งขึ้นและหากจะว่ากันด้วยเรื่องรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกันกับเรื่องๆ นี้แล้วเนื้อหาทั้งหมดของมันนั้นมีอยู่ด้วยกันค่อนข้างที่จะเยอะมากเลยทีเดียว ดังนั้นเพื่อให้การโพสต์ตลอดก่อนที่จะถึงช่วงปีใหม่นั้นมีความกระชับและได้ประโยชน์สูงสุดผมจึงจะขออนุญาตเลือกหัวข้อที่มีความสำคัญมาก 2 ประเด็นมาพูดถึงนั่นก็คือ 1. รูปแบบของการสั่นสะเทือนและวิธีในการทำการตรวจวัดการสั่นสะเทือนของเครื่องจักร 2. รูปแบบและวิธีแก้ไขการสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากเครื่องจักร เมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้พูดถึงหัวข้อที่ 1 เรื่องรูปแบบของการสั่นสะเทือนและวิธีในการทำการตรวจวัดการสั่นสะเทือนของเครื่องจักร และในสัปดาห์นี้ซึ่งก็คือวันศุกร์ที่ 25 ก็จะถือได้ว่าเป็นวันศุกร์สุดท้ายของปี … Read More

การแก้ไขฐานราก เมื่อจุดรองรับนั้น เป็นจุดรองรับแบบยึดแน่น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ที่หน้างานได้มีการตอกเสาเข็มซึ่งจะถูกใช้ในโครงสร้างฐานราก F3 ผลจากการตอกเสาเข็มต้นแรกพบว่าไม่เป็นไปตาม BLOW COUNT ที่ทางผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดเอาไว้ … Read More

การออกแบบการสั่น อันเนื่องมาจากเครื่องจักร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ เอาไว้เมื่อสัปดาห์ก่อนว่าในวันนี้ผมจะขออนุญาตนำเอาเรื่องราวรายละเอียดต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องการออกแบบการสั่นอันเนื่องมาจากเครื่องจักรเอามามาพูดถึงและอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ให้มีความรู้และความเข้าใจที่มากยิ่งขึ้นและหากจะว่ากันด้วยเรื่องรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกันกับเรื่องๆ นี้แล้วเนื้อหาทั้งหมดของมันนั้นมีอยู่ด้วยกันค่อนข้างที่จะเยอะมากเลยทีเดียว ดังนั้นเพื่อให้การโพสต์ตลอดก่อนที่จะถึงช่วงปีใหม่นั้นมีความกระชับและได้ประโยชน์สูงสุดผมจึงจะขออนุญาตเลือกหัวข้อที่มีความสำคัญมาก 2 ประเด็นมาพูดถึงนั่นก็คือ 1. รูปแบบของการสั่นสะเทือนและวิธีในการทำการตรวจวัดการสั่นสะเทือนของเครื่องจักร 2. รูปแบบและวิธีแก้ไขการสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากเครื่องจักร ซึ่งในสัปดาห์นี้ก็คือวันศุกร์ที่ 18 และในสัปดาห์สุดท้ายก็คือวันศุกร์ที่ 25 ซึ่งก็จะถือได้ว่าเป็นวันศุกร์สุดท้ายของปี พ.ศ. … Read More

วิธีในการจำแนกว่า จุดต่อ SIMPLY SUPPORT

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ ในสัปดาห์ที่แล้วผมได้ทำการอธิบายกับเพื่อนๆ ถึงวิธีในการจำแนกว่า จุดต่อของเรานั้นเป็นจุดต่อแบบใดระหว่างจุดต่ออย่างง่าย หรือ SIMPLY SUPPORT เพียงเท่านั้น หรือ จุดต่อแบบยึดแน่น หรือ RIGID CONNECTION … Read More

ประสบการณ์เกี่ยวกับ การก่อสร้างเสาเข็มที่มีคุณภาพไม่ดี

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ สืบเนื่องจากเมื่อประมาณสองถึงสามสัปดาห์ก่อนหน้านี้ได้มีแฟนเพจท่านหนึ่งได้ทำการสอบถามเข้ามาในอินบ็อกซ์ส่วนตัวของผมโดยมีใจความของข้อความว่า “ทราบมาว่าตัวผมนั้นทำหน้าที่เป็นผู้ออกแบบและผู้ควบคุมการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเป็นหลัก เลยอยากจะถามว่าจากประสบการณ์ส่วนตัวของผมนั้นเคยเจอกรณีใดที่มีการทำงานการก่อสร้างเสาเข็มที่มีคุณภาพแบบแย่ๆ เป็นอย่างไรบ้าง ถ้าหากว่าเป็นไปได้ก็อยากให้ผมนั้นยกตัวอย่างเป็นรูปหรือกรณีประกอบคำอธิบายด้วยก็น่าจะดีครับ” จริงๆ ผมก็คิดอยู่นานนะว่าจะเอาอย่างไรดีเพราะมีหลายๆ โครงการเลยที่เป็นกรณีแบบนี้ ซึ่งผมคิดไปคิดมาแล้วผมจึงตัดสินใจขอยกเอากรณีศึกษาจากโครงการก่อสร้างแห่งหนึ่งก็แล้วกัน ซึ่งผมก็จะขอออกตัวเอาไว้ก่อนล่วงหน้าเลยว่า … Read More

จุดต่อที่ถ่ายแรงดัด และจุดต่อแบบกึ่งถ่ายแรงดัด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ ตามที่ผมได้รับปากเพื่อนๆ เอาไว้ว่าในสัปดาห์นี้ผมจะขออนุญาตนำเอาเรื่องของจุดต่อที่จะถ่ายแรงดัดด้วยและจุดต่อแบบกึ่งถ่ายแรงดัดมาพูดถึงและอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ให้มีความรู้และความเข้าใจที่มากยิ่งขึ้นและตามที่ผมได้เริ่มต้นอธิบายไปเมื่อสัปดาห์ที่แล้วว่า โครงสร้างเหล็กรูปพรรณของเรานั้นจะมีจุดต่อภายในโครงสร้างเป็นแบบใดแบบหนึ่งหรืออาจจะมีทั้ง 3 แบบข้างต้นก็มีความเป็นไปได้ สำคัญอยู่ที่ผู้ทำการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างจะเป็นผู้กำหนดลงไปในแบบวิศวกรรมโครงสร้างและเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องจากสัปดาห์ที่แล้วที่ผมได้เริ่มต้นทำการพูดถึงจุดต่อที่จะถ่ายแค่แรงเฉือนเพียงเท่านั้นไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว วันนี้ผมจะขอทำการอธิบายให้เพื่อนๆ ได้ทำความรู้จักกันกับจุดต่อที่จะถ่ายแรงดัด หรือ MOMENT CONNECTION … Read More

งานออกแบบทางด้านระบบบำบัดน้ำเสีย

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ วันนี้ผมจะมาแนะนำและแชร์ความรู้ให้กับเพื่อนๆ แฟนเพจทุกๆ ท่านเกี่ยวกับเรื่องๆ หนึ่งที่ถือได้ว่ามีความสำคัญมากอย่างหนึ่งที่มีความเกี่ยวข้องกันกับงานทางด้านวิศวกรรมโยธาโดยตรงแต่ว่าหลายๆ คนอาจจะไม่ทราบนั่นก็คือ ระบบบำบัดน้ำเสีย หรือ WATER SEWAGE SYSTEM นะครับ สาเหตุที่หลายๆ … Read More

การจำแนกชิ้นส่วนโครงสร้างประเภทรับแรงดึงเพียงอย่างเดียว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากรูปโครงสร้าง A B C และ D ที่แสดงอยู่ในโพสต์ๆ … Read More

1 4 5 6 7 8 9 10 34