ปัญหาการคำนวณหาค่าโมเมนต์ดัด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้ ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ผมขอสมมติว่าในรูปเป็นผลจากการวิเคราะห์โครงสร้างคาน คสล ซึ่งเป็นกรณีของ น้ำหนักบรรทุกเพิ่มค่า หรือ FACTORED LOAD ซึ่งก็จะมี … Read More

การอธิบายเทคนิคในการใช้งานซอฟต์แวร์ที่มีกระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตคั่นการโพสต์เกี่ยวกับเรื่องเทคนิคต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องพื้นฐานและประสบการณ์ในการออกแบบที่ผมเคยได้เกริ่นไปเมื่อสัปดาห์ที่แล้วว่าผมจะค่อยๆ ทยอยนำเอามาฝากและเล่าสู่กันฟังแก่น้องๆ เนื่องด้วยผมมีโอกาสได้ไปพบเจอเข้ากับโพสต์ดีๆ โพสต์หนึ่งซึ่งจริงๆ แล้วเป็นบทความที่เขียนโดยท่านอาจารย์จิรายุทธ สืบสุข ซึ่งท่านได้เขียนเอาไว้ดีมากๆ วันนี้จึงขออนุญาตนำเอาบทความๆ นี้มาแบ่งปันกับเพื่อนๆ … Read More

ความรู้เรื่องโครงสร้างพื้นที่มีการใช้งานในโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ตอนนี้เรากำลังพูดถึงเรื่องงาน โครงสร้างเหล็กรูปพรรณ หรือ STRUCTURAL STEEL กันอยู่และหลังจากที่ก่อนหน้านี้ผมได้พูดถึงหลายๆ เรื่องที่มีความเกี่ยวพันกันกับโครงสร้างเหล็กรูปพรรณไปแล้ว เช่น โครงสร้างคานเหล็กรูปพรรณ หรือ STRUCTURAL STEEL … Read More

ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้ เกี่ยวกับเทคนิคการใช้งานซอฟต์แวร์

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ สืบเนื่องมาจากการที่มีรุ่นน้องวิศวกรท่านหนึ่งเค้าคงจะทราบมาว่าตัวผมนั้นเป็นสามัญวิศวกรโยธาที่ทำงานทางด้านการออกแบบและการเสริมกำลังให้แก่โครงสร้างมาก็ไม่น้อย เค้าจึงได้ฝากคำถามสั้นๆ แต่ได้ใจความเข้ามาคำถามหนึ่งในทำนองว่า อยากให้ผมให้ข้อแนะนำเกี่ยวกับเทคนิคการใช้งานซอฟต์แวร์ที่มีกระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์ หรือ FINITE ELEMENT ANALYSIS หรือเขียนสั้นๆ ว่า … Read More

โครงสร้างเหล็กรูปพรรณ หรือ STRUCTURAL STEEL

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ตอนนี้เรากำลังพูดถึงเรื่องงาน โครงสร้างเหล็กรูปพรรณ หรือ STRUCTURAL STEEL กันอยู่และหลังจากที่ก่อนหน้านี้ผมได้พูดถึงหลายๆ เรื่องที่มีความเกี่ยวพันกันกับโครงสร้างเหล็กรูปพรรณไปแล้ว เช่น โครงสร้างคานเหล็กรูปพรรณ หรือ STRUCTURAL STEEL … Read More

สการทดสอบเพื่อหาความยาวของโครงสร้างเสาเข็มโดยวิธีการทดสอบทางอ้อม ด้วยวิธี PARALLEL SEISMIC TEST

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ คำถามๆ หนึ่งซึ่งตัวผมเองเคยได้รับมาค่อนข้างที่จะบ่อยมากๆ เวลาที่ต้องไปทำการสำรวจโครงสร้างอาคารเลยก็คือ จำนวนน้อยที่สุดในการที่เราจะทำการทดสอบโครงสร้างเสาเข็มด้วยวิธี PARALLEL SEISMIC TEST นั้นควรเป็นจำนวนเท่าใด ? ซึ่งผมก็คงจะให้คำตอบเหมือนในทุกๆ … Read More

สมการในการคำนวณหาค่ากำลังของเสาเข็มแบบพื้นฐานจากผลการทดสอบดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ ซึ่งคำถามในวันนี้นั้นสืบเนื่องมาจากคำถามในสัปดาห์ที่แล้วซึ่งได้มีแฟนเพจถามเข้ามาเกี่ยวกับเรื่องการคำนวณหาค่ากำลังความสามารถในการรับกำลังของโครงสร้างเสาเข็ม โดยที่ใจความของคำถามก็คือ จากทั้งสามค่าที่ผมได้นำเอามาอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ไปในสัปดาห์ก่อนดังต่อไปนี้ Qt = TENSION CAPACITY OF PILE … Read More

การคำนวณหาค่ากำลังของเสาเข็ม แบบพื้นฐาน จากผลการทดสอบดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ ซึ่งคำถามในวันนี้ก็มาจากเพื่อนที่เป็นแฟนเพจท่านหนึ่งซึ่งได้สอบถามเข้ามาทางอินบ็อกซ์ส่วนตัวของผมโดยที่มีใจความของคำถามว่า “ผมเชื่อคำแนะนำของพี่เรื่องการทำการทดสอบดินนะแต่ปัญหาคือ เมื่อผมเรียกให้บริษัทที่รับทำการทดสอบดินให้มาทำการทดสอบดินผลปรากฏว่า เค้าไม่ได้ทำการคำนวณขนาดของหน้าตัดเสาเข็มที่ผมต้องการที่จะใช้ออกมาให้ เช่น ผมอยากจะใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ 230 มม แบบนี้ผมควรต้องทำอย่างไรดีละครับ ?” … Read More

โครงสร้างฐานรากที่เกิดปัญหาการที่เสาเข็มนั้นเกิดการเยื้องศูนย์ออกไป

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ ซึ่งวันนี้เป็นวันศุกร์วันแรกที่เราได้มาพบกันพบก็จะขอเริ่มต้นจากคำถามสดๆ ร้อนๆ ที่เพิ่งได้รับมาเมื่อวานจากน้องแฟนเพจผู้หญิงท่านหนึ่งซึ่งได้สอบถามเข้ามาโดยมีใจความของคำถามว่า “ขออนุญาตสอบถามเกี่ยวกับโพสต์ที่ผมเคยได้ทำการอธิบายถึงเรื่องกรณีที่โครงสร้างฐานรากที่เกิดปัญหาการที่เสาเข็มนั้นเกิดการเยื้องศูนย์ออกไป (รูปที่ 1) ว่าเพราะเหตุใดเราจึงควรต้องทำการคำนวณหาว่าแรงปฏิกิริยาของเสาเข็มนั้นเป็นเท่าใดคะ ?” ซึ่งผมก็ได้ทำการตอบไปในเบื้องต้นว่า ถ้าหากเกิดเหตุการณ์ที่เสาเข็มของเรานั้นเกิดการเยื้องศูนย์ออกไปจากที่วิศวกรผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดเอาไว้ … Read More

วิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ หากว่าเพื่อนๆ มีความสงสัยว่า หากเรามีความต้องการที่จะทำโครงสร้างที่จะถูกวางตัวลงไปบนดินโดยตรง หรือ GRADED STRUCTURE เราจะมีวิธีอย่างไรในการที่จะทราบได้ว่า ดินข้างใต้ที่จะทำหน้าที่ในการรับน้ำหนักโครงสร้างนั้นๆ จะมีโอกาสที่จะเกิดการทรุดตัวได้มากหรือน้อยเพียงใด วันนี้ผมมีคำแนะนำขั้นพื้นฐานเกี่ยวกับเรื่องๆ … Read More

1 3 4 5 6 7 8 9 34