“ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” การคำนวณหาค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ ตามที่ผมได้เรียนกับเพื่อนๆ ไปว่าในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการยกตัวอย่างถึงเรื่องการคำนวณเกี่ยวกับเรื่องค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์ หรือ EULER’S CRITICAL COMPRESSION LOAD หรือ ที่พวกเรานิยมเรียกชื่อนี้ว่า Pcr ซึ่งจริงๆ แล้วหากเพื่อนๆ … Read More

ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง ความสำคัญของค่าตัวคูณเพื่อหาความยาวประสิทธิผลในโครงสร้างที่ต้องทำหน้าที่ในการรับแรงอัด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ ตามที่ผมได้เรียนเพื่อนๆ ไปเมื่อในสัปดาห์ที่แล้วว่าวันนี้ผมจะขออนุญาตมาพูดถึงเรื่อง สมการค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์ กันต่ออีกสักหนึ่งโพสต์เพราะจริงๆ แล้วเรื่องนี้เป็นเรื่องหนึ่งที่มีความสำคัญมากเกี่ยวกับวิชากลศาสตร์ของวัสดุหรือ MECHANICS OF MATERIALS ซึ่งสุดท้ายแล้วเราก็จะต้องนำเอาพื้นฐานของเรื่องๆ นี้ไปต่อยอดในวิชาออกแบบต่างๆ อีกมากมายเลย เช่น … Read More

ถาม-ตอบชวนสนุก การคำนวณหาค่าตัวคูณลดกำลังสำหรับกรณีของการที่ชิ้นส่วนต้องทำหน้าที่ในการรับแรงดัด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้ ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ   ผมขอสมมติว่าผมกำลังทำการออกแบบโครงสร้าง คสล ซึ่งเป็นหน้าตัดที่ทำหน้าที่ในการรับแรงดัดหน้าตัดหนึ่งซึ่งก็จะมีรูปแบบของเหล็กเสริมตามขวางในหน้าตัดนั้นจะเป็นแบบทั่วๆ ไป โดยที่ผมจะทำการออกแบบโดยอ้างอิงไปที่มาตรฐานการออกแบบ ACI318-14 และเมื่อผมทำการจัดเหล็กเสริมเสร็จก็พบว่า … Read More

ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง โครงสร้างสำหรับวางแนวท่อ หรือ PIPE RACK STRUCTURAL SYSTEM

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ขณะนี้ผมกำลังพาเพื่อนๆ ไปทำความรู้จักกันกับลักษณะของระบบโครงสร้างๆ หนึ่งซึ่งจริงๆ แล้วมีการใช้งานอย่างแพร่หลายโดยทั่วไปแต่สาเหตุที่เพื่อนๆ หลายๆ คนอาจจะไม่มีความคุ้นเคยหรืออาจจะยังไม่รู้จักกันกับระบบโครงสร้างนี้ดีเพียงพอนั่นก็เป็นเพราะโดยมากแล้วระบบโครงสร้างดังกล่าวนี้จะมีการใช้งานอยู่ในงานประเภทที่มีความเกี่ยวข้องกันกับงานอุตสาหกรรมเป็นหลัก ซึ่งเจ้าระบบโครงสร้างนี้มีชื่อว่า ระบบโครงสร้างสำหรับวางแนวท่อ หรือ PIPE RACK STRUCTURAL … Read More

ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ เนื่องจากเมื่อประมาณสองสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นมีน้องที่เป็นแฟนเพจของผมท่านหนึ่งได้สอบถามผมเข้ามาผ่านทางช่องทางอินบ็อกซ์ส่วนตัวของผมเกี่ยวกับเรื่อง การออกแบบโครงสร้างฐานรากแบบแผ่ หรือ BEARING STRUCTURAL FOUNDATION ซึ่งเราก็ได้สนทนากันในหลายๆ ประเด็นเลย หนึ่งในประเด็นที่มีความน่าสนใจก็คือคำถามของน้องท่านนี้ที่ได้สอบถามเข้ามาว่า เพราะเหตุใดในเขต … Read More

ภูมิปัญญาของช่างไทยในอดีตกับงานออกแบบและก่อสร้างระบบฐานรากของอาคาร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ เมื่อสัปดาห์ก่อนผมมีโอกาสได้ไปทำงานออกแบบโครงสร้างฐานรากรองรับเครื่องจักรในบริเวณโรงพยาบาลพระมงกุฎ ซึ่งผมได้จอดรถไว้ที่อาคารจอดรถของทางโรงพยาบาล พอเดินออกมาที่หน้าประตูด้านที่ติดกับถนนใหญ่ที่จะมุ่งหน้าไปที่ฝั่งอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิผมก็ไปเจอกับกลุ่มอาคารเก่าแก่อยู่หลายหลังซึ่งตั้งอยู่ภายในโรงพยาบาลแห่งนี้ด้วย ซึ่งในระหว่างที่รอที่จะไปคุยงานผมก็ได้มีโอกาสเดินสำรวจดูสิว่า ลักษณะและรูปทรงต่างๆ ของอาคารหลังนี้นั้นเป็นอย่างไรและผมก็ได้พบว่า อาคารดังกล่าวนี้ยังคงความสวยงามตรงตามลักษณะต่างๆ ทางด้านงานสถาปัตยกรรมของอาคารที่มีการก่อสร้างขึ้นในสมัยโบราณ ทำให้เข้าใจได้เลยว่าเพราะเหตุใดทางโรงพยาบาลจึงเลือกที่จะทำการอนุรักษ์อาคารหลังนี้เอาไว้ให้คนรุ่นหลังๆ ได้มีโอกาสมารับชมกันน่ะครับ … Read More

การยกตัวอย่างเพื่ออธิบายเรื่องการกระจายตัวซ้ำของแรงภายในระบบโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ สืบเนื่องจากเมื่อในสปัดาห์ที่แล้วที่ผมได้แชร์คลิปๆ หนึ่งจากเพจ OFFSHORE STRUCTURAL CORNER ซึ่งภายคลิปๆ นั้นเป็นกำลังฉายภาพคนงานที่กำลังรื้อถอนโครงสร้างเสาที่อยู่ทางด้านล่างของโครงสร้างอาคารหนึ่งออกไป ซึ่งเท่าที่ดูแล้วอาคารหลังนี้ก็น่าจะเป็นอาคารสูงด้วย ซึ่งผมได้ให้คำอธิบายไว้ว่า อาคารหลังนี้น่าที่จะได้รับการก่อสร้างด้วยกรรมวิธีปกติธรรมดาทั่วๆ ไป ซึ่งพอโครงสร้างของเรานั้นมีกระบวนการๆ … Read More

ปัญหาการเลือกวิธีในการตอกเสาเข็มแซมในโครงสร้างฐานราก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ผมขอทำการสมมติว่า เพื่อนๆ ต้องทำหน้าที่เป็นผู้ออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างในโครงการก่อสร้างแห่งหนึ่ง โดยที่ผมขอทำการสมมติให้ข้อมูลของโครงสร้างเสาเข็มที่จะสามารถนำมาใช้ในการก่อสร้างในโครงการแห่งนั้นเป็นไปตามข้อมูลดังต่อไปนี้ โครงสร้างเสาเข็มรูปตัวไอขนาด 180 … Read More

เหตุใดจึงควรทำการออกแบบให้โครงสร้างเสาตอม่อโครงสร้างฐานรากและโครงสร้างเสาเข็มให้มีความสมมาตร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ จริงๆ แล้วผมตั้งใจที่จะนำเอาคำถามที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อๆ นี้ไปตอบในวันศุกร์ซึ่งก็คือวันพรุ่งนี้ ซึ่งสุดท้ายสาเหตุที่ผมได้เลือกนำเอามาโพสต์ในวันนี้เป็นเพราะคำถามในวันนี้จะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องวิศวกรรมโครงสร้างฐานรากเสาที่อาศัยเข็มในการรับน้ำหนักนั่นเองครับ เนื่องจากว่าในช่วงเวลานี้ผมกำลังทำงานที่มีความเกี่ยวข้องกันกับการเสริมกำลังให้แก่โครงสร้างเดิมอยู่พอดิบพอดี ซึ่งหนึ่งในโครงสร้างเหล่านั้นก็จะประกอบไปด้วยโครงสร้างฐานรากด้วย ซึ่งคำถามนั้นมาจากทางลูกค้าที่ได้สอบถามผมเข้ามาว่า “เพราะเหตุใดเวลาที่เราจะทำการเสริมโครงสร้างฐานรากที่อาศัยโครงสร้างเสาเข็มในการรับน้ำหนักไม่ว่าจะเป็นโครงสร้างฐานรากที่ใช้เสาเข็มจำนวน 1 ต้น … Read More

ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมมีรูปจริงๆ ของระบบโครงสร้างฐานรากซึ่งคอยทำหน้าที่เป็นโครงสร้างรั้วให้แก่โครงสร้างแห่งหนึ่ง ซึ่งได้เกิดรูปแบบ “กึ่งวิบัติ” ขึ้น สาเหตุที่ผมใช้คำว่า กึ่งวิบัติ นั้นเป็นเพราะว่าถึงแม้ว่าโครงสร้างเสานั้นจะเกิดรอยร้าวที่มองเห็นได้อย่างชัดเจนด้วยตาเปล่าเลยแต่ก็ยังดีว่าระบบโครงสร้างโดยรวมนั้นยังไม่ได้ถึงขั้นเกิดการวิบัติอย่างสมบูรณ์ โดยที่เจ้าของนั้นก็คงจะสังเกตเห็นและก็ทำการใช้ท่อนไม้ในการทำหน้าที่เป็นโครงสร้างค้ำยันให้แก่ระบบโครงสร้างนี้ได้ทันการพอดีน่ะครับ โดยที่ผมได้ตั้งข้อสันนิษฐานว่า … Read More

1 2 3 4 5 6 7 8 34