แฟคเตอร์ลดกำลังสำหรับกรณีที่เราทำการออกแบบเสายาว (SLENDER COLUMN) โดยวิธีหน่วยแรงใช้งาน (WORKING STRESS DESIGN METHOD)

แฟคเตอร์ลดกำลังสำหรับกรณีที่เราทำการออกแบบเสายาว (SLENDER COLUMN) โดยวิธีหน่วยแรงใช้งาน (WORKING STRESS DESIGN METHOD) หากเราทำการออกแบบเสาคอนกรีตเสริมเหล็กโดย วิธีหน่วยแรงใช้งาน เราจะสามารถพิจารณาทำการออกแบบโดยพิจารณาว่าโครงสร้างเสาของเรานั้นเป็น เสาสั้น หรือ เสายาว ได้โดยการพิจารณาจาก หากอัตราส่วน L/r ≤ 60 เราไม่จำเป็นจะต้องลดกำลังต้านทานแรงอัดในเสาเลย … Read More

วิธีในการคำนวณหาค่า p นี้ในการแทนค่าหาค่า σ max ในโครงสร้างคานรับแรงดัด

วิธีในการคำนวณหาค่า p นี้ในการแทนค่าหาค่า σ max ในโครงสร้างคานรับแรงดัด ในหลายๆ ครั้งเพื่อนๆ มักไม่ได้นำความรู้ รวมไปถึงค่าต่างๆ ในหัวข้อนี้ไปใช้ในการวิเคราะห์ความเค้นในคานกันสักเท่าใดเลยนะครับ เพราะ เพื่อนหลายๆ คนมักจะมีความเข้าใจว่าในการหาค่าความเค้นในคานเราจำเป็นที่จะต้องทำการวิเคราะห์หาแรงปฏิกิริยาของจุดรองรับ หาค่าโมเมนต์ดัด และ จากนั้นเราจึงจะสามารถทราบได้ว่าคานนั้นจะมีความเค้นดัดเกิดขึ้นในหน้าตัดเป็นค่าเท่าใด เอาเป็นว่าวันนี้ผมจะมาให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ ก็แล้วกันนะครับว่าการหาความเค้นดัดในคานนั้นเราไม่จำเป็นที่จะต้องทำเช่นนั้นก็ได้นะครับ เรามาเริ่มต้นดูรูปที่ผมแนบมาด้วยประกอบคำอธิบายของผมกันเลยดีกว่านะครับ … Read More

ตำแหน่งของระยะวิกฤติสำหรับการออกแบบแรงเฉือนในคาน

ตำแหน่งของระยะวิกฤติสำหรับการออกแบบแรงเฉือนในคาน สาเหตุที่ผมต้องนำเรื่องๆ นี้มาอธิบายแก่เพื่อนๆ เพราะ เท่าที่ผมสังเกตมาโดยตลอด ผมพบว่าเมื่อเพื่อนๆ ทำการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คาน คสล ให้ต้องสามารถที่จะต้านทานต่อแรงเฉือนที่เกิดขึ้นได้นั้น ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วเพื่อนๆ จะใช้ หน้าตัด และ ค่าแรงเฉือน ณ ตำแหน่งศูนย์กลางของจุดรองรับ หรือ ที่ระยะ L … Read More

มาตรฐานอื่นๆ นอกเหนือไปจากมาตรฐาน ASTM

สวัสดีครับ วันนี้ Mr.เสาเข็ม จะมาพูดถึงเรื่องมาตรฐานอื่นๆ ซึ่งนอกเหนือจาก มาตรฐาน ASTM (AMERICAN SOCIETY FOR TESTING AND MATERIALS) ที่หลายๆท่าน อาจจะรู้จักกันดีอยู่แล้ว ซึ่งจะมีอะไรบ้างนั้น Mr.เสาเข็ม นำมาไว้ให้แล้วครับ รายชื่อของมาตรฐานเหล่านี้ก็ได้แก่ (1) การทดสอบตามมาตรฐานของสถาบันนานาชาติแห่งประเทศอเมริกา หรือ … Read More

ทิศทางในการวางหน้าตัดของเสาเข็มที่ถูกต้อง

สวัสดีครับ เพื่อนๆทุกท่าน วันนี้ Mr.เสาเข็ม ได้นำความรู้เกี่ยวกับการก่อสร้างและวิศวกรรม มาฝกาเช่นเคย วันนี้จะเป็นเรื่อง ทิศทางในการวางหน้าตัดของเสาเข็มที่ถูกต้อง สำหรับ ทิศทางในการวางหน้าตัดของเสาเข็มที่ถูกต้องนั้น ต้องขออธิบายเสียก่อนนะครับปัญหาจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อ (1) หน้าตัดของเสาเข็มนั้นเป็นแบบ ไม่สมมาตรใน แกนใดแกนหนึ่ง หรือ ทุกๆ แกน เช่น เสาเข็มหน้าตัดรูปตัวไอ … Read More

ประโยชน์ของการใช้โปรแกรม FINITE ELEMENT ร่วมกันกับโปรแกรมอื่นๆ

ช่วงบ่ายๆแบบนี้ ความรู้เกี่ยวกับงานก่อสร้าง จาก Mr.เสาเข็ม มาอีกแล้วนะครับ วันนี้จะเป็น เรื่อง ประโยชน์ของการใช้โปรแกรม FINITE ELEMENT ร่วมกันกับโปรแกรมอื่นๆ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาเล่ามาแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ เกี่ยวกับเนื้อหาเบาๆ เกี่ยวกับเรื่อง ประโยชน์ของการใช้โปรแกรม FINITE ELEMENT ร่วมกันกับโปรแกรมอื่นๆ ที่เพื่อนทั่วๆ ไปน่าที่จะมีความคุ้นเคยกันดีอยู่แล้ว นั่นก็คือ … Read More

เสาเข็มกลมแรงเหวี่ยง (Spun Micro Pile) Dia 25 cm.

สวัสดีครับ วันนี้ก็มาพบกับ Mr.เสาเข็ม กันอีกเช่นเคย วันนี้ จะมาแนะนำเกี่ยวกับ เสาเข็มกลมแรงเหวี่ยง (Spun Micro Pile) Dia 25 cm. กันนะครับ เสาเข็มกลมแรงเหวี่ยง (Spun Micro Pile) Dia 25 cm. … Read More

เสาเข็มกลมแรงเหวี่ยง (Spun Micro Pile) Dia 30 cm.

สวัสดีครับ วันนี้ก็มาพบกับ Mr.Spunman กันอีกเช่นเคย วันนี้ จะมาแนะนำเกี่ยวกับ เสาเข็มกลมแรงเหวี่ยง (Spun Micro Pile) Dia 30 cm. กันนะครับ เสาเข็มกลมแรงเหวี่ยง (Spun Micro Pile) Dia 30 cm. … Read More

คานคอดิน (GROUND BEAM) ควรอยู่สูงจากระดับพื้นดินเท่าไหร่

คานคอดิน (Ground Beam) คือส่วนประกอบโครงสร้างบนดินที่รับน้ำหนักพื้น ผนัง และสิ่งที่อยู่เหนือคานคอดินขึ้นไป แล้วจึงถ่ายน้ำหนักไปยังตอม่อและฐานรากต่อไป การก่อสร้างคานคอดิน แบ่งจากระดับความสูงจากพื้นดินได้ 2 แบบ คานคอดินวางอยู่บนระดับดิน เนื่องจากระดับพื้นชั้นล่างอยู่สูงจากระดับดินไม่มากนัก ในการก่อสร้างจึงมักทำเนินดินให้สูงเสมอท้องคานคอดิน และเทลีน (Lean) เพื่อใช้เป็นแบบหล่อท้องคานแทนการใช้ไม้แบบ และใช้ไม้แบบเฉพาะด้านข้างคานทั้งสองด้าน คานคอดินอยู่สูงจากระดับดินมากกว่า 1 … Read More

อิฐมวลเบา (LIGHTWEIGHT CONCRETE)

อิฐมวลเบา (Lightweight Concrete) คือคอนกรีตมวลเบาหรืออิฐมวลเบา เป็นวัสดุสำหรับก่อผนังสำหรับอาคารสูงหรือบ้านที่อยู่อาศัย เป็นวัสดุก่อที่นำเทคโนโลยีการผลิตมาจากต่างประเทศ มีทั้งแบบบล็อกตันและบล็อกกลวง (คล้ายคอนกรีตบล็อก) ขนาดใหญ่ แต่น้ำหนักเบามากกว่าเนื่องจากมีฟองอากาศขนาดเล็กกระจายอยู่อย่างสม่ำเสมอในเนื้อวัสดุ อิฐมวลเบามีขนาดมาตรฐาน กว้าง 20 x 20 เซนติเมตร และมีความหนาตั้งแต่ 7.5, 10, 12.5, … Read More

1 29 30 31 32 33 34