วิธีการทดสอบหาค่ากำลังอัดของคอนกรีตแบบกึ่งทำลาย (SEMI-DESTRUCTIVE TEST)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ เมื่อหลายวันก่อนผมได้นำเสนอวิธีการทดสอบหาค่ากำลังอัดของคอนกรีตแบบไม่ทำลาย (NON-DESTRUCTIVE TEST) ไปแล้ว ดังนั้นวันนี้จะมาเล่าให้ฟังถึงวิธีแบบ กึ่งทำลาย (SEMI-DESTRUCTIVE TEST) ให้เพื่อนๆ ได้รับทราบกันบ้างนะครับ หลักการการของทดสอบเพื่อที่จะประเมินหาค่ากําลังอัดของคอนกรีต (COMPRESSIVE STRENGTH) โดยวิธีการข้างต้นมีชื่อว่า CORE DRILLING TEST วิธีการนี้เป็นการทดสอบคอนกรีตแบบ … Read More

กรณีที่อาคารส่วนต่อเชื่อมกันเหิดการทรุดตัวที่ไม่เท่ากัน

สวัสดีครับแฟนเพจทุกๆ ท่าน หลังจากเมื่อ 2 วันที่ผ่านมาเราพูดคุยกันถึงเนื้อหาหนักๆ เกี่ยวกับเรื่องทฤษฎีการวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้าง คสล กันมาหลายวันแล้ว วันนี้แอดมินจะมาขอพูดคุยถึงเนื้อหาที่เบาๆ ลงมาบ้างครับ เนื่องจากเมื่อหลายวันก่อนแอดมินมีโอกาสได้แวะไปละหมาดที่มัสยิดและไปเจอเคสกรณีที่อาคารส่วนต่อเชื่อมกันเหิดการทรุดตัวที่ไม่เท่ากันมาฝากเพื่อนๆ นะครับ จะเห็นว่าอาคารมัสยิด คือ ส่วนที่มีการก่อสร้างก่อน ส่วนอาคารเรียน คือ ส่วนที่ก่อสร้างทีหลัง และทั้งสองอาคารนี้เชื่อมต่อกันด้วยบันไดที่ทำยื่นมาจากอาคารเรียน (CANTILEVER … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านนะครับ  หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ     ผมต้องขออภัยเพื่อนๆ และพี่ๆ น้องๆ อีกหลายคนที่ยังมีเรื่องราวและคำถามที่ได้ฝากกันเข้ามา แต่ เนื่องด้วยภารกิจต่างๆ ของผมมันช่างมากมายเหลือเกิน … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน   หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ       เนื่องจากเมื่อสัปดาห์ที่แล้วผมได้ทำการอธิบายวิธีในการถ่าย นน จากโครงสร้างแผ่นพื้น คสล ไปลงบนคาน คสล … Read More

การคำนวณค่าโมเมนต์ความเฉื่อยประสิทธิผลเมื่อหน้าตัด คสล เป็น CRACKED SECTION

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน  วันนี้ผมจะมาต่อในเรื่องที่ผมยังค้างเพื่อนๆ เอาไว้กันนะครับ โดยวันนี้ผมจะมาอธิบายเรื่องการคำนวณค่าโมเมนต์ความเฉื่อยประสิทธิผลเมื่อหน้าตัด คสล ของเรานั้นเป็น CRACKED SECTION กัน     มาตรฐาน ACI ได้กำหนดไว้ว่าหากจะทำการคำนวณหาค่าการโก่งตัวในโครงสร้างรับแรงดัดที่เสริมเหล็กทางเดียว เราจำเป็นจะต้องนำผลของ 2 ส่วนมาคิด คือ (1) … Read More

วิธีในการคำนวณหาค่า p นี้ในการแทนค่าหาค่า σ max ในโครงสร้างคานรับแรงดัด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน    ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการยก ตย ให้แก่เพื่อนๆ ได้ทราบกันถึงวิธีในการคำนวณหาค่า p นี้ในการแทนค่าหาค่า σ max ในโครงสร้างคานรับแรงดัดต่อเนื่องจากโพสต์ของผมเมื่อวันก่อนนะครับ   ผมขอพูดถึงสาเหตุที่ผมทำการหยิบยกเรื่องๆ นี้มาฝากแก่เพื่อนๆ อีกสักครั้งนะครับ เป็นเพราะว่าผมเห็นว่าในหลายๆ ครั้งเพื่อนๆ มักไม่ได้นำความรู้ รวมไปถึงค่าต่างๆ … Read More

ข้อต่อเหล็กข้ออ้อยทางกล COUPLER

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน  วันนี้ผมจะมาแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องข้อต่อเหล็กข้ออ้อยทางกล หรือ ที่เรานิยมเรียกกันสั้นๆ ว่า COUPLER นะครับ     โดยปกติดในการต่อเหล็กเส้นในงานโครงสร้างเราจะนิยมใช้วิธีต่อทาบเหล็กเสริม โดยที่ระยะทาบนี้จะอยู่ที่ 40D หรือ 50D และ เราจะใช้ลวดมัดหรือเชื่อมติดกัน ถ้าในโครงสร้างมีการเสริมเหล็กจำนวนมาก วิธีการทาบก็ทำให้เหล็กเสริมในโครงสร้างที่จุดต่อแน่นมากขึ้น ทำให้พื้นที่หน้าตัดคอนกรีต … Read More

โปรแกรมวิเคราะห์โครงสร้าง MICROFEAP

สวัสดีครับแฟน ๆ ที่รักทุกท่าน     กลับมาพบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันเสาร์ที่ผ่านมาวันนี้ผมได้มีโอกาสมาฟังการบรรยายของอาจารย์ที่ปรึกษาดรธีระธีระวงศ์โดยในเอกสารการบรรยายที่อ่านแล้วก็พบว่าพวกเขาได้รับ คำถามต่าง ๆ ที่น่าสนใจหัวข้อ: วิเคราะห์โครงสร้างหัวเรื่อง: เอาไว้หัวเรื่อง: ผมด้วยหัวเรื่อง: การคิดว่าได้ได้ได้จะเก็บไว้ได้ดีและก็เหมือนกันเหมือนเคยขณะนี้ในห้างหุ้นส่วนจำกัดห้างหุ้นส่วนจำกัดห้างหุ้นส่วนจ กัดห้างหุ้นส่วนจำกัดห้างหุ้นสวน จำกัด ทุก ๆ หัวเรื่อง: หัวเรื่อง: หัวเรื่อง: … Read More

THEORY OF STRUCTURES หรือ ทฤษฎีโครงสร้าง

THEORY OF STRUCTURES หรือ ทฤษฎีโครงสร้าง สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่คำถามที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ในวันนี้จะอยู่ในแขนงวิชา THEORY OF STRUCTURES หรือ ทฤษฎีโครงสร้าง นะครับ คำถามข้อนี้คือคำถามข้อที่ … Read More

การหันด้านแกนแข็ง (STRONG AXIS) ของโครงสร้างมาใช้ในการรับแรง

การหันด้านแกนแข็ง (STRONG AXIS) ของโครงสร้างมาใช้ในการรับแรง ดูจากรูปภาพประกอบก็แล้วกันนะครับ หากเรามีคานรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ซึ่งจะมีด้านที่มีระยะที่น้อยเท่ากับระยะ b และ ก็จะมีด้านที่มีระยะที่มากเท่ากับระยะ h หากว่าเราต้องการที่จะให้คานๆ นี้มีความสามารถในการรับ นน ที่จะก่อให้เกิดผลตอบสนองในคานเป็นแรงดัดที่เกิดขึ้นโดยมี ค่าแรงเค้นดัด (BENDING STRESS) ที่น้อย และ … Read More

1 25 26 27 28 29 30 31 34