การใช้โปรแกรม STAAD.PRO กรณีที่โครงสร้างเสาที่มีขนาดเล็กและใหญ่มาบรรจบกันแบบไม่ตรงศูนย์กลางซึ่งกันและกัน

สวัสดัครับแฟนเพจที่รักทุกท่าน สืบเนื่องจากมีพี่ท่านหนึ่งได้หลังไมค์มาสอบถามผมเกี่ยวกับกรณีที่โปรแกรมต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น MIDAS GEN หรือ MICRO FEAP เองก็ดีนั้นสามารถที่จะทำการจำลองโครงสร้างจำพวก RIGID LINK สำหรับในกรณีที่โครงสร้างเสาที่มีขนาดเล็กและใหญ่มาบรรจบกันแบบไม่ตรงศูนย์กลางซึ่งกันและกัน แล้วโปรแกรม STAAD.PRO ทำได้หรือ ? (รูปที่ 1) คำตอบ คือ … Read More

ตารางแสดงค่า สปส แรงเสียดทาน หรือ FRICTION COEFFICIENT

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทกุๆ ท่าน วันนี้แอดมินมีตารางที่แสดงให้ถึงค่า สปส แรงเสียดทาน หรือ FRICTION COEFFICIENT มาฝากเพื่อนๆ นะครับ เพื่อนหลายๆ คนอาจมีคำถามว่าค่า สปส นี้มีประโยชน์อย่างไร ? เราสามารถที่จะคำนวณหาค่าต่างๆ ได้หลายค่าจาก สปส แรงเสียดทานนี้ครับ เรามาดู … Read More

การจำลองโครงสร้างด้วยโปรแกรมทาง FINITE ELEMENT

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ วันนี้ผมจะมาแนะนำให้เพื่อนๆ ได้รู้จักถึงส่วนประกอบหลักๆ เมื่อวิศวกรต้องการทำการจำลองโครงสร้างด้วยโปรแกรมทาง FINITE ELEMENT กันพอสังเขปนะครับ เมื่อใดก็ตามที่วิศวกรต้องการจะวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมทาง FINITE ELEMENT ก็จะเริ่มต้นทำแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของโครงสร้างขึ้นมาก่อนครับ โดยที่องค์ประกอบหลักๆ ของแบบจำลองทางคณิตศาสตร์นี้จะประกอบไปด้วย (1) SIGN CONVENTION หรือ STRUCTURAL AXIS … Read More

“แกนสะเทิน” หรือ “NEUTRAL AXIS”

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หลังจากที่เราคร่ำเคร่งและเครียดเกี่ยวกับเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับเรื่องรอยร้าวของคอนกรีตกันมาหลายวันแล้ว วันนี้ผมคิดว่าเราควรจะพักสมองด้วยคำถามเบาๆ กันบ้างนะครับ คำถามที่แอดมินจะมาถามพวกเราก็คือ พวกเรารู้จัก “แกนสะเทิน” หรือ “NEUTRAL AXIS” กันหรือไม่ครับ ? ผมเชื่อว่าเพื่อนๆ ที่เป็นวิศวกรหลายๆ ท่านในเพจจะรู้จักคำๆ นี้ แต่ การจะให้คำนิยามกับคำๆ นี้ผมคิดว่าหลายๆ … Read More

ลักษณะของการเกิดการแตกร้าวในเนื้อคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในวันนี้ผมจะขอมายกตัวอย่างกันให้เห็นถึงลักษณะของการเกิดการแตกร้าวในเนื้อคอนกรีตกันต่อจากเมื่อวานนะครับ มาเริ่มต้นกันทีละภาพนะครับ (A) เริ่มจากภาพ (A) เป็นแผนภาพที่แสดงให้เห็นถึงการแตกร้าวของคอนกรีตทั้งแบบ STRUCTURAL CRACK และ NON-STRUCTURAL CRACK นะครับ จะเห็นได้ว่าปัญหาส่วนใหญ่นั้นจะเกิดจากการที่ผู้ทำงานไม่ใส่ใจที่จะดูแลเรื่องร่วเหล่านี้ไป ทั้งๆ ที่สามารถจะทำได้ตามปกติวิสัยของการทำงานอยู่แล้ว (B) ในรูป (B) … Read More

โครงสร้างคอนกรีตล้วน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากที่ผ่านมาหลายๆ ครั้งแอดมินมักจะได้ยินเพื่อนๆ หลายท่านนั้นยังคงสับสนถึงคำว่า “โครงสร้างคอนกรีต” กันอยู่เนืองๆ วันนี้ผมจึงอยากจะขอมาเรียบเรียงและทำความเข้าใจกับเพื่อนๆ เสียใหม่ถึงประเภทหลักๆ ของโครงสร้างคอนกรีตที่มีการใช้งานกันในวงการวิศวกรรมโยธาของบ้านเรา ทั้งนี้เมื่อต่อไปหากเราพูดถึง โครงสร้างคอนกรีต จะได้เข้าใจถูกต้อง และ ตรงกันนั่นเอง เราสามารถแบ่งประเภทของโครงสร้างคอนกรีตออกได้เป็นทั้งหมด 4 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ (1) … Read More

การออกแบบโครงสร้างเหล็กด้วยวิธีพลาสติกที่ใช้สมรรถนะของโครงสร้างเป็นเกณฑ์ หรือ PBPD (PERFORMANCE BASED PLASTIC DESIGN)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน  เนื่องจากเมื่อวันก่อนที่แอดมินได้มีโอกาสเขียนบทความให้เพื่อนๆ ได้รู้จักถึงวิธีการออกแบบโครงสร้างเหล็กด้วยวิธีพลาสติกที่ใช้สมรรถนะของโครงสร้างเป็นเกณฑ์ หรือ PBPD (PERFORMANCE BASED PLASTIC DESIGN) ให้เพื่อนๆ ได้รู้จักกันไปในเบื้องต้นแล้วว่า วิธีการออกแบบโครงสร้างเหล็กด้วยวิธีพลาสติกที่ใช้สมรรถนะของโครงสร้างเป็นเกณฑ์ หรือ PERFORMANCE-BASED PLASTIC DESIGN (PBPD) จะประกอบไปด้วยกระบวนการออกแบบขั้นตอนหลักๆ ดังต่อไปนี้ครับ … Read More

การออกแบบโครงสร้างเหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้แอดมินจะนำเกร็ดความรู้เกี่ยวกับเรื่องการออกแบบโครงสร้างเหล็กมาฝากเพื่อนๆ ต่อเนื่องจากเรื่องที่ผมทิ้งท้ายเอาไว้เมื่อวานนะครับ โดยที่เมื่อวานผมได้อธิบายกับเพื่อนๆ ไปแล้วว่าหากทำการออกแบบหน้าตัดเหล็กที่ต้องรับ แรงอัด และ แรงดัด พร้อมๆ กัน และ หน้าตัดเองมีค่าอัตราส่วนระหว่างค่า fa/Fa มีค่าน้อยกว่า 0.15 เราสามารถใช้สมการ INTERACTION ของ AISC … Read More

การคำนวณหาปริมาณเหล็กปลอกเกลียวในเสาเข็มเจาะแบบแห้งและแบบเปียก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ เนื่องจากมีน้องวิศวกรประมาณราคาท่านหนึ่งได้หลังไมค์มาถามทางแอดมินเกี่ยวกับเรื่อง การคำนวณหาปริมาณเหล็กปลอกเกลียวในเสาเข็มเจาะแบบแห้งและแบบเปียกว่าเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร (1) และ สามารถคำนวณได้อย่างไร (2) ? แอดมินขอตอบน้องท่านนี้ดังนี้นะครับ (1) ในการคำนวณปริมาณของเหล็กปลอกเกลียวในเสาเข็มเจาะแบบแห้ง และ แบบเปียกนั้นเหมือนกันนะครับ เพราะ ทั้ง 2 ระบบจะแตกต่างกันที่วิธีในการทำงานเจาะดิน ดังนั้นความยาวของเหล็กปลอกที่จะคำนวณได้โดยทั้ง 2 วิธีการนั้นจะเหมือนกันทุกประการครับ … Read More

แยกประเภทของเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ เนื่องจากมีคำถามที่ถามมายังแอดมินเข้ามาเยอะมากเกี่ยวกับเรื่องชนิด และ ประเภทของเสาเข็มนะครับ ทำให้แอดมินมีความเห็นว่าเพื่อเป็นการทำความเข้าใจที่ถูกต้องและตรงกันของเพื่อนๆ จึงอยากที่จะขออธิบายโดยแยกประเภทของเสาเข็มดังต่อไปนี้นะครับ (1) ประเภทของเสาเข็มตามประเภทของการรับกำลัง (2) ประเภทของเสาเข็มตามประเภทของวัสดุที่ใช้ทำ (3) ประเภทของเสาเข็มตามประเภทของรูปแบบการก่อสร้าง (รูปที่ 1) (รูปที่ 2) โดยในวันนี้จะขอมาทำการอธิบายต่อในหัวข้อที่ (3) หัวข้อสุดท้ายต่อจากเมื่อวานนะครับ … Read More

1 24 25 26 27 28 29 30 34