การคำนวณหาค่า Ksoil จากข้อมูลดินโดยใช้สมการอย่างง่าย

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาอธิบายต่อจากเนื้อหาเมื่อวาน คือ การคำนวณหาค่า Ksoil จากข้อมูลดินโดยใช้สมการอย่างง่ายนะครับ ก่อนอื่นผมขอทำความเข้าให้ให้ตรงกันเสียก่อนนะครับว่าเหตุใดเราจึงต้องทำการคำนวณหาค่า Ksoil จากข้อมูลดินโดยใช้สมการอย่างง่าย เป็นเพราะว่าในทางทฤษฎีนั้นเรื่องทาง GEOTECHNICAL นั้นเป็นอะไรที่ซับซ้อนพอสมควร การที่จะทำการคำนวณค่าใดๆ จากดินให้แม่นยำถูกต้อง 100% นั้นทำได้ยากมากๆ เราต้องอาศัยข้อมูลงานวิจัย ข้อมูลเชิงทดสอบต่างๆ ประกอบมากมายในการคำนวณ … Read More

ความเป็นไปได้ในการออกแบบให้จุดต่อของฐานราก F3 ให้เป็นแบบ PINNED

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ชสืบเนื่องจากโพสต์ของผมเมื่อวันก่อนเกี่ยวกับเรื่องทิศทางการวางเสาเข็มในฐานราก F3 และ มีประเด็นๆ หนึ่งที่มีเพื่อนวิศวกรท่านหนึ่งได้มาสอบถามผมเกี่ยวกับเรื่องความเป็นไปได้ในการออกแบบให้จุดต่อของฐานราก F3 ให้เป็นแบบ PINNED นั้นมีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด ซึ่งผมก็ได้ตอบเค้าในเบื้องต้นไปบ้างแล้วน่ะครับ ผมจึงเห็นว่าน่าจะมีประโยขน์หากผมทำการอธิบายประเด็นนี้เพิ่มเติมสักนิด ก่อนอื่นผมขอบอกก่อนนะครับว่าประเด็นที่ผมจะพูดถึงต่อไปนี้ ผมถือว่าเป็นการที่พวกเราเสวนา หรือ DISCUSS ร่วมกันนะครับ มิได้มีประเด็นใดที่เป็นเรื่องส่วนตัวเข้ามาเกี่ยวข้องเลย ผมขอเริ่มทำความเข้าใจให้ชัดเจนก่อนตามลำดับละกันนะครับ … Read More

การคำนวณการประมาณการขนาดหน้าตัดของคานสำหรับโครงสร้างรับแรงดัดเมื่อต้องใช้กับโครงสร้างที่มีลักษณะเป็น LONG SPAN

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมายก ตย การคำนวณการประมาณการขนาดหน้าตัดของคานสำหรับโครงสร้างรับแรงดัดเมื่อต้องใช้กับโครงสร้างที่มีลักษณะเป็น LONG SPAN ให้แก่เพื่อนๆ เพื่อดูเป็นแนวทางกันนะครับ โดยวิธีการที่ผมนำมายก ตย จะอยู่ในหัวข้อที่ (3) ในโพสต์เมื่อวานนะครับ ก็คือเราใช้วิธีการโมเมนต์ความเฉือยเทียบเท่า หรือ EQUIVALENT MOMENT OF INERTIA … Read More

ความแข็งเกร็ง หรือ STIFFNESS

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมนำความรู้เกี่ยวกับคำว่า ความแข็งเกร็ง หรือ STIFFNESS มาฝากเพื่อนๆ สักเล็กน้อยนะครับ เพื่อนๆ อาจเคยสงสัยใช่มั้ยครับ ทุกๆ ครั้งที่ได้ยินคำว่า ความแข็งเกร็ง หรือ STIFFNESS เวลาที่ต้องเกี่ยวข้องกับงานทางด้านกลศาสตร์ของวัสดุ หรือ การวิเคราะห์โครงสร้าง จริงๆ แล้วทำไมวิศวกร … Read More

การออกแบบเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ (รูปที่ 1) วันนี้ผมจะขอมาเอาใจวิศวกรภูธรกันบ้างนะครับ แหะๆ ผมล้อเล่นนะครับ ที่ผมพูดแบบนี้เพราะในหลายวันที่ผ่านมาผมได้พูดถึงค่า PARAMETER ที่สำคัญของดินไปหลายค่ามากๆ ซึ่งเมื่อเราได้ทำการทดสอบและคำนวณค่าเหล่านี้มาได้ เรามักต้องนำข้อมูลเหล่านี้ไปทำการออกแบบเสาเข็ม ซึ่งฐานรากที่ต้องเป็นระบบเสาเข็ม (ดูรูปที่ 1 ขวามือ) เราจะเรียกว่า ระบบฐานรากลึก (DEEP FOUNDATION) … Read More

ประเภทของดิน คุณสมบัติและมีความแตกต่าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ผมเข้าใจว่าเนื่องจากเมื่อโพสต์ที่แล้วของผมนั้นเกี่ยวข้องกับงานธรณีเทคนิคจึงมีเพื่อนวิศวกรท่านหนึ่งหลังไมค์มาสอบถามผมเกี่ยวกับเรื่องที่น่าสนใจ ซึ่งผมเห็นว่าน่าจะมีประโยชน์ต่อเพื่อนๆ ทุกคนเลยนำมาแชร์ให้กับเพื่อนๆ ด้วยนะครับ เรื่องนั้นก็คือประเภทของดินว่ามีกี่ชนิด และ แต่ละชนิดว่ามีคุณสมบัติอะไรที่โดดเด่นและมีความแตกต่างกันอย่างไรนะครับ ผมขอตอบแบบนี้นะครับ ลักษณะของดินสามารถจำแนกออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ โดยลักษณะความแตกต่างกันของดินทั้ง 2 ประเภทนี้ก็คือ ขนาดของเม็ดดิน และ คุณสมบัติของค่า c … Read More

ชนิด และ ประเภท ของ คำว่า BOUNDARY CONDITIONS

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาให้คำแนะนำเกี่ยวกับเรื่อง ชื่อ ชนิด และ ประเภท ของ คำว่า BOUNDARY CONDITIONS กันนะครับ เพื่อนๆ อาจจะงงนะครับว่าคำว่า BOUNDARY CONDITIONS นั้นมีประเภทด้วยหรือ คำตอบคือ มีครับ โดยทั่วไปแล้วเราจะรู้จัก … Read More

การออกแบบโครงสร้างอาคารสูง (HIGH RISE BUILDING) และ อาคารที่มีช่วงเสาค่อนข้างยาว (LONG SPAN BUILDING)

สวัสดีครับเพื่อนๆ ที่รักทุกๆ ท่าน สืบเนื่องจากเมื่อวันก่อนที่ผมได้โพสต์แชร์ความรู้และประสบการณ์ในการออกแบบโครงสร้างอาคารสูง (HIGH RISE BUILDING) และ อาคารที่มีช่วงเสาค่อนข้างยาว (LONG SPAN BUILDING) โดยได้แนะนำเพื่อนๆ ว่าในการออกแบบอาคารเหล่านี้ เราควรคำนึงและตรวจสอบค่า BRI หรือค่า BENDING RIGIDITY INDEX … Read More

ที่มาที่ไปของสมการที่เราใช้งานกันบ่อยๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาขอยก ตย ความรู้พื้นฐานที่เราควรจะทราบที่มาที่ไปของสมการที่เราใช้งานกันบ่อยๆ แต่อาจจะหลงลืมไปกันไปบ้างต่อนะครับ หลังจากเมื่อ 2 วันที่ผ่านมาผมยก ตย ถึงสมการทางด้านกลศาสตร์ของวัสดุไปบ้างแล้ว วันนี้ผมจะขอยก ตย ถึงสมการทางด้านการออกแบบบ้างนะครับ สมการที่เกี่ยวข้องกับงานออกแบบที่ผมต้องการจะหยิบยกมาในวันนี้เกี่ยวข้องกับการออกแบบหน้าตัดโครงสร้าง คสล ที่ต้องรับแรงดัดโดยวิธีหน่วยแรงใช้งานนะครับ เราอาจคุ้นเคยกันดีถึงสมการเหล่านี้ k = … Read More

ค่าโมดูลัสของแรงเฉือน (SHEAR MODULUS) หรือค่าโมดูลัสของความคงรูป (MODULUS OF RIGIDITY)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาตอบคำถามให้แก่เพื่อนของผมท่านหนึ่งบนเฟซบุ้คแห่งนี้ที่เพื่อนท่านนี้ได้หลังไมค์มาให้ผมช่วยอธิบายถึงค่าโมดูลัสของแรงเฉือน (SHEAR MODULUS) หรือค่าโมดูลัสของความคงรูป (MODULUS OF RIGIDITY) ที่เรานิยมเขียนแทนด้วยค่า G นั่นเองครับ ค่าๆ นี้ถือเป็นปริมาณที่มีประโยชน์มากค่าหนึ่งในทางกลสาสตร์ของวัสดุ ซึ่งชื่อของมันก็ชัดเจนอยู่แล้วนะครับว่าหากวัสดุใดที่มีคุณสมบัติค่าๆ นี้ที่สูง ก็ย่อมที่จะมีค่าการต้านทานต่อแรงเฉือนหรือมีคุณสมบัติทางด้านความคงรูปที่สูงตามไปด้วย โดยเราจะสามารถทำการทดสอบหาค่านี้ได้โดยสมมติฐานที่ว่าวัสดุนั้นมีการเสียรูปเป็นไปตามกฎของฮุค (HOOK’S LAW) … Read More

1 23 24 25 26 27 28 29 34