ความสัมพันธ์ระหว่างค่าหน่วยแรง (STRESS) และ ค่าความเครียด (STRAIN)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หลังจากที่เมื่อวันก่อนผมได้กล่าวนำถึงเรื่องกำลังของวัสดุ (STRENGTH OF MATERIALS) โดยเนื้อหาที่ผมได้เกริ่นนำถึงนั้นก็คือเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างค่าหน่วยแรง (STRESS) และ ค่าความเครียด (STRAIN) นะครับ ในวันนี้ผมจึงอยากที่จะขออนุญาตมาแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ถึงเรื่อง ชนิด ของวัสดุที่เรานิยมนำมาใช้ในงานวิศวกรรมโครงสร้างกันต่อนะครับ โดยชนิดของวัสดุที่ผมจะกล่าวถึงในวันนี้ คือ วัสดุหลักที่เรานิยมนำมาใช้ในการก่อสร้าง โครงสร้าง … Read More

การผสมปูนซีเมนต์กับดินเดิมสามารถทำได้ 2 วิธี

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในวันนี้ผมจะมากล่าวถึงกรณีที่เรานั้นไม่ต้องการที่จะให้อาคารที่เราทำการก่อสร้างซึ่งจะรวมไปถึงมวลดินที่อยู่ในบริเวณรอบๆ ตัวอาคารนั้นเกิดการทรุดตัวตามไปด้วยนะครับ จริงๆ คำตอบที่ง่ายและตรงไปตรงมาของปัญหาข้อนี้ คือ เราจำเป็นที่จะต้องทำการพัฒนาคุณภาพของดิน (SOIL IMPROVEMENT) รอบๆ ตัวอาคารนั่นเองนะครับ โดยทั่วไปโครงสร้างของชั้นดินในบริเวณที่เป็นพื้นที่มีความดินอ่อนตัวมากจะมีเสถียรภาพต่อการรับน้ำหนักได้ค่อนข้างที่จะน้อย และ เมื่อมีน้ำหนักมากระทำบนดินก็จะเกิดการทรุดตัวที่มีค่าสูงมาก เราจึงจำเป็นที่จะต้องมีการปรับปรุงคุณภาพของชั้นดินอ่อนนี้ก่อนการก่อสร้างอาคารนะครับ สำหรับวิธีการในการปรับปรุงคุณภาพของชั้นดินอ่อนนั้นมีด้วยกันหลายวิธีเลยนะครับ ซึ่งแต่ละวิธีก็จะมีทั้ง ข้อดี และ … Read More

การวิเคราะห์การสั่นตัวของโครงสร้างฐานรากที่ทำหน้าที่รองรับเครื่องจักร (VIBRATION ANALYSIS IN MACHINE FOUNDATION)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาตอบคำถามของน้องวิศวกรออกแบบท่านหนึ่งที่เคยได้สอบถามผมมาหลังไมค์ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับเรื่อง พลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL DYNAMICS) นะครับ นั่นก็คือ น้องวิศวกรท่านนี้อยากที่จะให้ผมช่วยให้คำแนะนำและอธิบายเกี่ยวกับเรื่อง การวิเคราะห์การสั่นตัวของโครงสร้างฐานรากที่ทำหน้าที่รองรับเครื่องจักร (VIBRATION ANALYSIS IN MACHINE FOUNDATION) ให้หน่อยนะครับ เอาเป็นว่าผมอยากที่จะให้คำแนะนำน้องวิศวกรท่านนี้แบบนี้ก็แล้วกันนะครับ ในการวิเคราะห์การสั่นตัวของโครงสร้างฐานรากที่ทำหน้าที่รองรับเครื่องจักรนั้นผมต้องขอบอกก่อนนะครับว่า เรื่องๆ นี้เป็นเรื่องที่ทำความเข้าใจได้อย่างละเอียดแท้จริงได้ค่อนข้างที่จะยากมากๆ … Read More

เพราะเหตุใด เมื่อเพิ่มความหนาของฐานรากให้หนามากขึ้น จึงทำให้การกระจายตัวของแรงปฏิกิริยาในเสาเข็ม ออกมามีค่าใกล้เคียงกัน มากกว่าการเลือกใช้ความหนาที่น้อยกว่า ?

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน สืบเนื่องจากโพสต์ของผมเมื่อวานผมพบว่ามีเพื่อนๆ หลายคนของเราสนใจกันเป็นพิเศษ โดยคำถามที่ผมได้รับตามมาก็ คือ เพราะเหตุใด เมื่อใดที่เราเพิ่มความหนาของฐานรากให้ค่อนข้างที่จะมีความหนามากขึ้น จึงทำให้การกระจายตัวของแรงปฏิกิริยาในเสาเข็มนั้นออกมามีค่าใกล้เคียงกัน มากกว่าการเลือกใช้ความหนาที่น้อยกว่า ? ผมขออนุญาตตอบตามหลักการที่เพื่อนๆ สามารถที่จะเข้าใจได้ด้วยภาษาบ้านๆ แบบนี้แล้วกันนะครับว่า เหตุผลที่ง่ายและตรงไปตรงมาที่สุด คือ การใช้ความหนาที่หนาจะทำให้ STIFFNESS หรือ ความแข็งแกร่ง … Read More

ค่า GLOBAL OVERSTRENGTH FACTOR

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ในเรื่องวิศวกรรมแผ่นดินไหวต่อนะครับ โดยวันนี้ผมอยากที่จะมาเล่าต่อให้จบในประเด็นในเรื่องของค่า GLOBAL OVERSTRENGTH FACTOR ที่ผมได้ติดค้างเพื่อนๆ เอาไว้ให้จบหลังจากที่เมื่อวานผมได้เล่าให้เพื่อนๆ ได้รู้จักถึงค่า LOCAL OVERSTRENGTH FACTOR กันไปแล้วนะครับ สำหรับค่าตัวประกอบกำลังส่วนเกินโดยรวม (GLOBAL OVERSTRENGTH) นั้นจะเกิดจากพฤติกรรมของระบบโครงสร้างโดยรวมภายใต้แรงกระทำทางด้านข้าง หลังจากที่ระบบของโครงสร้างโดยรวมนั้นเกิดการครากไปแล้ว … Read More

ระบบโครงสร้างที่นิยมนำใช้ในการต้านทานแรงกระทำจากการสั่นไหว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ เรื่องระบบโครงสร้างหนึ่งที่เรานิยมนำใช้ในการต้านทานแรงกระทำจากการสั่นไหวเนื่องจากการเกิดแผ่นดินไหวของอาคารที่เราทำการออกแบบนะครับ คาดว่าน่าจะมีประโยชน์ต่อๆ เพื่อนๆ และ น้องๆ หลายๆ คนที่มีความสนใจในประเด็นๆ นี้อยู่นะครับ ระบบที่ว่านี้ก็คือ ระบบโครงแกงแนง หรือ BRACED FRAME SYSTEM นั่นเองนะครับ โดยระบบๆ นี้ก็คือ … Read More

ตัวอย่าง รายการคำนวณในหัวข้อ STRENGTH AND SERVICEABILITY DESIGN OF TYPICAL RC BEAM

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมนำ ตย รายการคำนวณในหัวข้อ STRENGTH AND SERVICEABILITY DESIGN OF TYPICAL RC BEAM เพราะ เมื่อหลายวันก่อนมีเพื่อนวิศวกรรุ่นพี่ที่นิสัยดีมากๆ ท่านนึงได้สอบถามมาหลังไมค์เกี่ยวกับเรื่อง LC สำหรับการคำนวณและออกแบบในเรื่อง STRENGTH และ … Read More

ฐานรากกลุ่ม หรือว่า COMBINED FOOTING

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาตอบคำถามของเพื่อนวิศวกรท่านหนึ่งที่ถามผมมาเกี่ยวเนื่องกับโพสต์ครั้งที่แล้วของผมเกี่ยวกับเรื่องฐานรากแผ่แบบมีเสาตอม่อ 2 เสาลงมาที่ฐานรากแผ่หนึ่งฐานซึ่งมีชื่อที่เราเรียกกันว่า ฐานรากกลุ่ม หรือว่า COMBINED FOOTING ซึ่งคำถามมีอยู่ว่า หากว่าอาคารใช้เป็นฐานรากที่มีขนาดใหญ่ 1 ฐานที่ถูกเชื่อมเข้าด้วยกันทั้งหมดซึ่งจะต้องรับเสามากกว่า 1 แนวละ เราจะเรียกฐานรากแบบนี้ว่าเป็นฐานรากชนิดใด ? ในกรณีที่ฐานรากได้ถูกทำการเชื่อมเข้าด้วยกันทั้งหมด โดยอาจประกอบไปด้วยจำนวนเสามากกว่า 1 … Read More

หลักการพื้นฐานที่ใช้ในการวิเคราะห์โครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขอแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ถึงหลักการพื้นฐานที่เราใช้ในการวิเคราะห์โครงสร้าง ซึ่งเป็นหลักการง่ายๆ ที่มีความตรงไปตรงมา แต่ ถือว่ามีประโยชน์ต่อการวิเคราะห์โครงสร้างมากๆ นะครับ นั่นก็คือเรื่องทฤษฎีของ SUPERPOSITION นั่นเองครับ หลักการของ SUPERPOSITION เป็นแนวคิดพื้นฐานของทฤษฎีของการวิเคราะห์โครงสร้าง โดยที่มีข้อกําหนดว่าในการแอ่นตัว และ หมุนตัว (DISPLACEMENT) และ … Read More

ขั้นตอนการออกแบบฐานรากเดี่ยวแบบแผ่

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมอยากที่จะมาขอต่อการแชร์ความรู้ในเรื่องของฐานรากแบบแผ่ให้จบต่อเนื่องจากหลายๆ ครั้งที่ผมได่โพสต์ไปก่อนหน้านี่้นะครับ โดยในวันนี่้ผมอยากที่จะมาสรุปขั้นตอนการออกแบบฐานรากเดี่ยวแบบแผ่ให้แก่เพื่อนๆ ได้ทราบและทำความเข้าใจกันพอสังเขปนะครับ (1) เลือกความลึกของฐานราก: โดยความหนาน้อยที่สุดสำหรับฐานรากแผ่ก็คือ 15 CM นับจากเหล็กเสริม และ ความหนาน้อยที่สุดในทางปฏิบัติก็คือ 30 CM โดยที่ระยะหุ้มของคอนกรีตจะต้องมีค่าไม่น้อยกว่า 8 CM ถ้าหากทำการหล่อคอนกรีตบนดินโดยตรง … Read More

1 21 22 23 24 25 26 27 34