เทคนิคในการเพิ่มอายุการใช้งาน (DURABILITY) ของโครงสร้างคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมจะมาแนะนำเทคนิคในการเพิ่มอายุการใช้งาน (DURABILITY) ของโครงสร้างคอนกรีตที่มีความง่ายดายและตรงไปตรงมาที่สุด นั่นก็คือการเลือกใช้ ค่าแรงเค้นอัดประลัย (ULTIMATE COMPRESSIVE STRESS) ของคอนกรีต … Read More

การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาเอาใจน้องๆ ที่เป็นนักศึกษาทางด้านสาขาวิศวกรรม เช่น วิศวกรรมโยธา วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมอุตสาหกรรม เป็นต้น โดยที่ผมจะมาแนะนำวิธีในการคำนวณหาค่าแรงดัดในโครงสร้างคานแบบที่สามารถคำนวณได้โดยวิธีอย่างง่าย (DETERMINATE BEAM) ไม่ว่าจะเป็นค่าบน … Read More

งานวิศวกรรมอื่นๆ (MISCELLANEOUS ENGINEERING TOPICS หรือ MET)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ หัวข้องานวิศวกรรมอื่นๆ (MISCELLANEOUS ENGINEERING TOPICS หรือ MET) นะครับ วันอาทิตย์วันสบายๆ แบบนี้ผมมีเทคนิคในการทำแบบวิศวกรรมโครงสร้างที่ดีอย่างหนึ่งมาฝากให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกันนะครับ โดยหากเพื่อนๆ นำหลักการๆ นี้ไปประยุกต์ใช้ เพื่อนๆ จะสามารถทำการอ่านแบบและดูรายละเอียดต่างๆ ที่ค่อนข้างที่จะง่าย แถมการทำแบบในลักษณะนี้ยังสามารถที่จะลดความผิดพลาดในการทำงานโครงสร้างลงได้มากวิธีการหนึ่งด้วยนะครับ … Read More

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ เนื่องจากก่อนหน้านี้ผมได้เคยอธิบาย และ ให้คำแนะนำให้แก่เพื่อนๆ ได้ทราบกันไปแล้วนะครับว่า หากในการทำงานก่อสร้างนั้นมีการทำงานเสาเข็มและเสาเข็มเกิดการเยื้องศูนย์ออกไปมากจนเกินมาตรฐานที่ยอมให้เกิดขึ้นได้ วิธีการที่ดีที่สุดในการแก้ไขปัญหานี้ คือ เราควรที่จะทำการแก้ไขโดยการทำ TRANSFER … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ถึงเรื่องแรงๆ หนึ่งที่ต้องถือว่ามีความสำคัญอย่างมากในการออกแบบหน้าตัดโครงสร้าง คสล ที่เรามิอาจที่จะละเลยไม่ทำการออกแบบได้ นั่นก็คือ แรงโมเมนต์บิด หรือว่า TORSIONAL … Read More

การคำนวณเพื่อการตรวจสอบค่าแรงเฉือนทะลุ (PUNCHING SHEAR)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาตอบคำถามของเพื่อนวิศวกรที่เคยสอบถามผมมาหลังไมค์ก่อนหน้านี้ว่า “เหตุใดก่อนหน้านี้ตอนที่ผมทำการอธิบายว่าในตรวจสอบค่าแรงเฉือนทะลุ (PUNCHING SHEAR) ผมจึงได้ทำการระบุว่าให้ใช้สมการในการคำนวณหาค่าความสามารถในการรับกำลังแรงเฉือนทะลุโดยคอนกรีตเท่ากับ 1.06 ϕ √fc’ bo d เพียงสมการเดียว เพราะ เหมือนตอนที่เพื่อนท่านนี้เรียนมาจะจำได้ว่า มีหลายสมการในการตรวจสอบมากๆ รบกวนผมช่วยอธิบายประเด็นนี้หน่อยได้หรือไม่ครับ ?” ขอปรบมือรัวๆ ให้กับคำถามข้อนี้เลยนะครับ เป็นคำถามที่ดีมากๆ … Read More

วิธีการในการสังเกต ลักษณะของรูปแบบวัสดุคอนกรีต เมื่อเราทำการทดสอบ ค่าการยุบตัว ว่ามีรูปแบบใดบ้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการอธิบายถึงวิธีการในการสังเกตลักษณะของรูปแบบของวัสดุคอนกรีตเมื่อเราทำการทดสอบ ค่าการยุบตัว ด้วยนะครับ ว่าจะมีรูปแบบใดบ้าง และ แต่ละรูปแบบจะสามารถบ่งบอกคุณสมบัติที่สำคัญๆ ของคอนกรีตอะไรให้กับเราได้บ้างนะครับ ก่อนการเทคอนกรีตทุกๆ ครั้งเราควรต้องทำการตรวจสอบ ค่าการยุบตัว ของ ตย คอนกรีตเสียก่อน ซึ่งการทดสอบอาจปฏิบัติตามวิธีการที่ได้มีระบุเอาไว้ในมาตรฐาน ASTM C143 / C143M ซึ่งชื่อของมาตรฐานนี้ในภาษาอังกฤษ คือ … Read More

การทดสอบเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาตอบคำถามของเพื่อนเราท่านหนึ่งที่ได้กรุณาฝากคำถามเอาไว้นะครับว่า “ในการทดสอบเสาเข็มจริงๆ นั้นเราสามารถที่จะทำการแบ่งออกได้เป็นการทดสอบเสาเข็มแบบใดได้บ้าง และ หากเราต้องการที่จะทำการทดสอบว่าเสาเข็มของเรานั้นมีความสมบูรณ์มากน้อยเพียงใด เราควรที่จะใช้วิธีการใดในการทดสอบ ?” เป็นคำถามที่ดีนะครับ ดังนั้นในวันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาตอบคำถามข้อนี้ให้แก่เพื่อนท่านนี้ ซึ่งก็รวมไปถึงเพื่อนๆ ทุกๆ คนด้วยนะครับ ประเภทของการทดสอบเสาเข็มสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 วิธีการหลักๆ คือ 1. การทดสอบความสมบูรณ์ของเสาเข็ม (PILE … Read More

การพิจารณาเรื่องขนาดของโครงสร้างเสา

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาตอบคำถามของเพื่อนสถาปนิกที่ได้ฝากเอาไว้ว่า “เวลาที่สถาปนิกทำการออกแบบงานสถาปัตยกรรมโดยเฉพาะขนาดของ โครงสร้างเสา มักที่จะพบปัญหาเรื่องการกำหนดขนาดของ โครงสร้างเสา ในบางครั้งขนาดเสานั้นเล็กเกินไป บางครั้งก็มีขนาดใหญ่เกินความจำเป็น ซึ่งหลายๆ ครั้งจะพบว่าทางวิศวกรมักจะต้องขอทำการแก้ไขแบบอยู่เสมอๆ อยากทราบว่าจะแก้ปัญหานี้ได้อย่างไร ?” ผมขออนุญาตตอบเพื่อนสถาปนิกท่านนี้แบบนี้นะครับ ในการพิจารณาเรื่องขนาดของโครงสร้างเสานั้นเราควรทำการพิจารณาจาก 3 ปัจจัยหลักๆ ได้แก่ (1) ขนาดจำนวนชั้นของอาคารที่เสาต้นนั้นจะต้องรับ หากอาคารของเราเป็นเพียงอาคาร … Read More

ตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะ สำหรับการเจาะสำรวจชั้นดิน ในพื้นที่ต่างจังหวัด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากในครั้งที่แล้วผมได้นำตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็นแนวทางสำหรับการเจาะสำรวจชั้นดินในเขตพื้นที่ กทม และ ปริมณฑล มาฝากเพื่อนๆ พร้อมกับได้ให้คำอรรถาธิบายไปพอสังเขปแล้ว ในวันนี้ผมจึงอยากที่จะขออนุญาตนำข้อมูลและตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็นแนวทางสำหรับการเจาะสำรวจชั้นดินในพื้นที่ต่างจังหวัด มาเล่าให้เพื่อนๆ ฟังพร้อมกันกับนำข้อมูลมาถกกันด้วยว่าเพราะเหตุใดข้อมูลจากทั้งสองตารางนี้จึงมีความแตกต่างกันนะครับ ก่อนอื่นผมอยากให้เพื่อนๆ เริ่มต้นดูรูปที่แสดงตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็นแนวทางสำหรับการเจาะสำรวจชั้นดินในพื้นที่ต่างจังหวัดกันก่อนนะครับ หากเพื่อนๆ สังเกตดูดีๆ จะพบว่าช่องที่แสดงค่า ความลึกของหลุมเจาะ ในตารางๆ นี้จะมีความแตกต่างออกไปจากตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็นแนวทางสำหรับการเจาะสำรวจชั้นดินในเขตพื้นที่ กทม และ … Read More

1 19 20 21 22 23 24 25 34