โครงสร้างคอนกรีตหล่อสำเร็จรูป (PRE-CAST CONCRETE STRUCTURE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ หากว่าวันนี้ผมพูดถึงคำว่า โครงสร้างคอนกรีตหล่อสำเร็จรูป (PRE-CAST CONCRETE STRUCTURE) ผมคิดว่าพวกเราหลายๆ คนคงจะมีความคุ้นเคยกันดีอยู่แล้ว เช่น โครงสร้างเสาเข็มสำเร็จรูป โครงสร้างคานสำเร็จรูป … Read More

“Pre-”

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW) นะครับ หากผมเอ่ยภาษาอังกฤษคำว่า “Pre-” ออกมา ผมเชื่อเหลือเกินว่าคงจะมีเพื่อนๆ ของพวกเราหลายๆ คนคุ้นหูและคุ้นเคยกับคำๆ นี้ดี ส่วนจะรู้ความหมายและสามารถนำไปใช้ได้ถูกต้องหรือไม่ก็เป็นอีกเรื่องหนึ่งนะครับ ดังนั้นในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการให้ความรู้แก่เพื่อนๆ ถึงการใช้งานคำๆ … Read More

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเฉลยและมา DISCUSS ร่วมกันกับเพื่อนๆ ถึงประเด็นคำถามที่ผมได้ฝากเอาไว้ตั้งแต่เมื่อวานนั่นก็คือ จะเห็นได้ว่าโครงสร้างในรูปๆ นี้ได้วิบัติไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ซึ่งจะเห็นได้ว่าโครงสร้างๆ นี้อยู่ในรูปแบบที่สูญเสีย เสถียรภาพ และ … Read More

ข้อสอบในวิชา THEORY OF STRUCTURES

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกเช่นเคยในวันบ่ายจันทร์แบบนี้โดยที่หัวข้อในวันนี้ผมจะมาเฉลยคำตอบในการสอบใบประกอบวิชาชีพในระดับภาคีวิศวกรที่ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิศวกรนะครับ ในวันนี้จะเป็นข้อสอบในวิชา THEORY OF STRUCTURES นะครับ โดยที่ข้อสอบข้อนี้มีรายละเอียดของถามว่า ข้อที่ 36 จงคำนวณหาขนาดและประเภทของแรงตามแนวแกน (AXIAL FORCES) ในชิ้นส่วน BE และชิ้นส่วน DE ของโครงข้อหมุน (TRUSS) ABCDE ดังแสดงในรูป … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) นะครับ มีเพื่อนวิศวกรของผมท่านหนึ่งได้หลังไมค์มาถามผมเกี่ยวกับเรื่องหลักการในการออกแบบชิ้นส่วนโครงสร้างเหล็กรูปพรรณว่า “เมื่อทำการออกแบบโครงสร้างเหล็กรูปพรรณชิ้นส่วนที่เป็น คาน-เสา (BEAM-COLUMN ELEMENT) เหตุใดเราจึงจำเป็นที่จะต้องทำการคำนวณปรับแก้ ค่าตัวคูณขยายค่า (MAGNIFICATION FACTOR) … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) นะครับ วันนี้ผมจะมาทำการ DISCUSS และแลกเปลี่ยนกันกับเพื่อนๆ ถึงประเด็นคำถามที่ผมได้ฝากเอาไว้แก่เพื่อนๆ ทุกคนเมื่อวาน แต่ ก่อนอื่นเรามาทวนคำถามกันสักเล็กน้อยก่อนนะครับ จากรูปจะเห็นได้ว่ามีโครงหลังคาเหล็กอยู่โครงหนึ่งที่ในแกน X นั้นจะมีระยะห่างของช่วงว่าง … Read More

เฉลยคำตอบในการสอบใบประกอบวิชาชีพในระดับภาคีวิศวกรที่ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิศวกร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกเช่นเคยในวันบ่ายจันทร์แบบนี้โดยที่หัวข้อในวันนี้ผมจะมาเฉลยคำตอบในการสอบใบประกอบวิชาชีพในระดับภาคีวิศวกรที่ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิศวกรนะครับ ในวันนี้จะเป็นข้อสอบในวิชา THEORY OF STRUCTURES นะครับ โดยที่ข้อสอบข้อนี้มีรายละเอียดของถามว่า ข้อที่ 46 แรงปฏิกิริยาในแนวดิ่งที่จุด E ของโครงสร้างดังรูปมีค่าเท่ากับเท่าใด เฉลย สิ่งที่เราควรทำเมื่อเจอปัญหาแบบนี้ คือ ให้เราพยายามมองให้ออกก่อนว่า ชิ้นส่วน หรือ ลักษณะของจุดรองรับ ในโครงสร้างจริงๆ … Read More

เฉลยข้อสอบ กพ ที่เป็นในส่วนการสอบในภาค ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์วิศวกรรม (ENGINEERING MECHANICS COMPUTATION หรือ EMC) นะครับ วันนี้ผมจะมาเฉลยข้อสอบ กพ ที่เป็นในส่วนการสอบในภาค ก ที่เป็นประเด็นพูดถึงกันมากอยู่ในเฟซบุ้คในขณะนี้นะครับ จริงๆ แล้วปัญหาข้อนี้ไมได้มีความสลับซับซ้อนอะไรมากนักนะครับ ไม่ต้องท่องจำ สูตร หรือ สมการ … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างอาคารสูง (TALL BUILDING DESIGN หรือ TBD)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างอาคารสูง (TALL BUILDING DESIGN หรือ TBD) นะครับ ในการออกแบบโครงสร้างอาคารสูงใดๆ ระบบๆ หนึ่งที่เรามักที่จะพบเจออยู่บ่อยครั้งมากๆ เลยก็คือ ระบบพื้น คสล หรือ คอร แบบท้องเรียบ (RC OR … Read More

การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ เป็นยังไงกันบ้างครับเพื่อนๆ หวังว่าปัญหาที่ผมได้ให้ไว้นั้นคงไม่ได้ยากจนเกินไปนักนะครับ เอาละ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเฉลยปัญหาข้อนี้ให้แก่เพื่อนๆ ทุกคนก็แล้วกัน แต่ ก่อนอื่นมาเรามาทวนปัญหาข้อนี้กันก่อนสักเล็กน้อย จากรูปจะเห็นได้ว่าโครงสร้างดังกล่าวนั้นเป็น โครงสร้างเส้นลวด (CABLE STRUCTURE) … Read More

1 17 18 19 20 21 22 23 34