จุดประสงค์ ที่ช่างทำการก่ออิฐมักจะทำ ก้อน หรือ ปุ่ม คอนกรีตเล็กๆ ไว้อยู่ทั่วไปบนผนังก่ออิฐ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ   วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเฉลยและมา DISCUSS ร่วมกันกับเพื่อนๆ ถึงประเด็นคำถามที่ผมได้ฝากเอาไว้ตั้งแต่เมื่อวานนั่นก็คือ จากรูปหากว่าเพื่อนๆ กำลังเดินตรวจสอบการทำงานการก่อและฉาบงานผนังอิฐอยู่ที่หน้างาน เพื่อนๆ … Read More

กำลังรับโมเมนต์ดัดของลวดอัดแรง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ สืบเนื่องจากโพสต์ของผมเมื่อวานที่ผมได้ตอบเพื่อนคนหนึ่งไปเกี่ยวกับเรื่องกำลังรับโมเมนต์ดัดของลวดอัดแรง 1 เส้น ที่ใช้เสริมในโครงสร้างพื้น คอร แบบไร้คานท้องเรียบ (POST-TENSIONED FLAT PLATE … Read More

เฉลยคำตอบ ข้อสอบในวิชา STRUCTURAL STEEL DESIGN ข้อที่ 65

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกเช่นเคยในวันบ่ายจันทร์แบบนี้โดยที่หัวข้อในวันนี้ผมจะมาเฉลยคำตอบในการสอบใบประกอบวิชาชีพในระดับภาคีวิศวกรที่ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิศวกรนะครับ ในวันนี้จะเป็นข้อสอบในวิชา STRUCTURAL STEEL DESIGN นะครับ โดยที่ข้อสอบข้อนี้มีรายละเอียดของถามว่า ข้อที่ 65 ค่า kL/r ของแกนที่แข็งแรงและแกนที่อ่อนแอของหน้าตัดเสาเหล็กรูปพรรณ W200x21.3 ที่มีการค้ำยันบนแกนที่แข็งแรงเท่ากับ 6 ม และบนแกนที่อ่อนแอเท่ากับ 4 … Read More

ระยะการค้ำยันทางด้านข้าง ในการออกแบบโครงสร้างเหล็กรับแรงดัด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ ไหนๆ สัปดาห์นี้ผมก็พูดถึงเรื่อง การออกแบบโครงสร้างเหล็กรับแรงดัด แล้วก็ขอพูดถึงหัวข้อนี้ตลอดสัปดาห์เลยก็แล้วกันนะครับ สัปดาห์ต่อๆ ไปจะได้นำหัวข้ออื่นๆ มาพูดถึงบ้าง ดังนั้นในวันนี้เพื่อให้ต่อเนื่องจากโพสต์ของเมื่อวาน … Read More

ALIGNMENT CHART เพื่อจุดประสงค์ในการคำนวณหาค่า EFFECTIVE LENGTH FACTOR หรือค่า K

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ เนื่องจากเมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมานั้นผมได้โพสต์และอธิบายถึงเรื่องวิธีในการคำนวณหาค่า EFFECTIVE LENGTH FACTOR หรือค่า K เมื่อเราต้องทำการออกแบบโครงสร้างเหล็กรับแรงอัดโดยใช้ ALIGNMENT … Read More

ข้อสอบในวิชา STRUCTURAL STEEL DESIGN ข้อที่ 67

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกเช่นเคยในวันบ่ายจันทร์แบบนี้โดยที่หัวข้อในวันนี้ผมจะมาเฉลยคำตอบในการสอบใบประกอบวิชาชีพในระดับภาคีวิศวกรที่ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิศวกรนะครับ ในวันนี้จะเป็นข้อสอบในวิชา STRUCTURAL STEEL DESIGN นะครับ โดยที่ข้อสอบข้อนี้มีรายละเอียดของถามว่า ข้อที่ 67 จงหา Effective Length Factor : K สำหรับเสา AB ซึ่งอยู่ในโครงเฟรมที่เซได้ … Read More

ค่าคาบการสั่นไหวพื้นฐาน หรือ NATURAL VIBRATION PERIOD ของอาคาร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างอาคารสูง (TALL BUILDING DESIGN หรือ TBD) นะครับ เนื่องจากเมื่อประมาณ 2 สัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมไปเป็นวิทยากรบรรยายและให้ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบโครงสร้างให้สามารถที่จะต้านทานต่อแรงกระทำจากแผ่นดินไหวให้แก่หน่วยงานเอกชนหน่วยงานหนึ่ง ซึ่งในวันนี้ยังเป็นแค่การบรรยายในส่วนพื้นฐานเพียงเท่านั้น ผมยังไมไดลงลึกในรายละเอียด และ ยังไมได้แสดง ตย ในการออกแบบ ได้มีน้องวิศวกรท่านหนึ่งได้สอบถามผมมาเกี่ยวกับขั้นตอนในการคำนวณ … Read More

ข้อสอบในวิชา REINFORCED CONCRETE DESIGN ข้อที่ 338

วัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกเช่นเคยในวันบ่ายจันทร์แบบนี้โดยที่หัวข้อในวันนี้ผมจะมาเฉลยคำตอบในการสอบใบประกอบวิชาชีพในระดับภาคีวิศวกรที่ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิศวกรนะครับ ในวันนี้จะเป็นข้อสอบในวิชา REINFORCED CONCRETE DESIGN นะครับ โดยที่ข้อสอบข้อนี้มีรายละเอียดของถามว่า ข้อที่ 338 ฐานรากแผ่ขนาด 1.80×1.80 เมตร รองรับเสาตอม่อขนาด 0.30×0.30 เมตร ตรงกึ่งกลางฐานราก ซึ่งถ่ายแรงอัด P … Read More

เฉลยคำตอบ ในการสอบใบประกอบวิชาชีพในระดับภาคีวิศวกรที่ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิศวกร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน   โดยหัวข้อในวันนี้ผมจะมาเฉลยคำตอบในการสอบใบประกอบวิชาชีพในระดับภาคีวิศวกรที่ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิศวกรนะครับ ในวันนี้จะเป็นข้อสอบในวิชา REINFORCED CONCRETE DESIGN นะครับ โดยที่ข้อสอบข้อนี้มีรายละเอียดของถามว่า ข้อที่ 284 คานกว้าง 25 ซม เสริมเหล็กรับแรงดึงที่ระยะ d = 40 ซม … Read More

การเป่าทราย SANDBLAST

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ เมื่อวานนี้ผมเพิ่งมีโอกาสเดินทางไปจังหวัดชุมพรเพื่อไปทำการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างให้ในโครงการเปิดใช้งานโรงงานเก่าแห่งหนึ่ง ซึ่งหนึ่งในงานที่ผมจะต้องรับผิดชอบก็คือ เราจะต้องนำสนิมออกจากตัวโครงสร้างเหล็กเดิมออกทั้งหมดด้วย ผมจึงคิดว่าวันนี้ผมจะมานำเทคนิคในการนำสนิมออกจากตัวโครงสร้างเหล็กให้แก่เพื่อนๆ ทุกคนได้รับทราบด้วยก็น่าจะเป็นการดี เทคนิคที่ว่าก็คือการทำ SANDBLAST นะครับ … Read More

1 16 17 18 19 20 21 22 34