วิธีการแก้ไขปัญหาการทำงานในขั้นตอนการกั้นระหว่างชิ้นส่วนโครงสร้างใหม่ และเก่าโดยไม่ใช้โฟม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากก่อนหน้านี้ผมเคยโพสต์เกี่ยวกับวิธีการแก้ไขปัญหาการทำงานในขั้นตอนของการกั้นระหว่างชิ้นส่วนโครงสร้างใหม่และเก่าโดยไม่ใช้โฟม แต่ ผมได้แนะนำให้เพื่อนๆ นั้นใช้เป็นวัสดุอื่นๆ แทน เช่น แผ่นสมาร์ทบอร์ด แผ่นไม้อัด เป็นต้น วันนี้ผมจึงได้นำรูปภาพจริงๆ จากการแก้ไขงานตรงนี้ของทาง … Read More

ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ หลังจากที่เมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้ทำการอธิบายคำถามที่ว่า เพราะเหตุใดในการก่อสร้างโครงสร้างฐานรากของโครงสร้างประเภทรั้ว เราจึงมักที่จะเห็นวิศวกรนั้นทำการออกแบบให้ใช้เสาเข็มนั้นวางตัวเป็นแบบคู่ หรือ ไม่ก็เป็นแบบเสาเข็มเดี่ยวสลับกันระหว่างเสาเข็มคู่ ?   ซึ่งหากทำการตั้งคำถามว่าเราสามารถที่จะใช้โครงสร้างเข็มเดี่ยวในการทำเสาเข็มรับรั้วได้หรือไม่ ผมก็ได้ตอบไปว่า ได้ นะครับ … Read More

ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาตอบคำถามของเพื่อนๆ เราที่ได้ฝากผมเอาไว้เมื่อ 2-3 สัปดาห์ก่อนเรื่อง เพราะเหตุใดในการก่อสร้างโครงสร้างฐานรากของโครงสร้างประเภทรั้ว เราจึงมักที่จะเห็นวิศวกรนั้นทำการออกแบบให้ใช้เสาเข็มนั้นวางตัวเป็นแบบคู่ หรือ ไม่ก็เป็นแบบเสาเข็มเดี่ยวสลับกันระหว่างเสาเข็มคู่ ?   จริงๆ … Read More

โครงสร้างเสา คสล นั้นเกิดการวิบัติเนื่องจากเหล็กเสริมหลักในเสาเป็นสนิม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะขออนุญาตโพสต์ประสบการณ์ตรง ซึ่งผมได้พบจากการทำงานจริงๆ เหตุการณ์หนึ่ง นั่นก็คือ การที่ผมได้มีโอกาสไปพบเจอเหตุโครงสร้างเสา คสล นั้นเกิดการวิบัติเนื่องจากเหล็กเสริมหลักในเสานั้นเป็นสนิม นะครับ จริงๆ แล้วหากจะถามว่าผมมีโอกาสได้พบเจอกับเหตุการณ์ในทำนองนี้มาแล้วหลายครั้งแล้วหรือไม่ ก็ต้องตอบเลยนะครับว่า บ่อยมากๆ นะครับ แต่ … Read More

การทำงานใต้ฐานเหล็กแผ่นรับโครงสร้างเสาเหล็ก ด้วยการเทช่องว่างข้างล่างให้เต็มด้วย ซีเมนต์ชนิดไม่มีการหดตัว หรือ ที่เรานิยมเรียกกันว่า NON-SHRINK

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยในวันนี้ผมจะขออนุญาตพูดถึงเรื่องเล็กเรื่องหนึ่งที่จริงๆ แล้วต้องถือว่าไม่เล็กเลย นั่นก็คือ การทำงานส่วนใต้ฐานเหล็กแผ่นที่ทำหน้าที่ในการรับโครงสร้างเสาเหล็กด้วยการเทช่องว่างข้างล่างนี้ให้เต็มด้วย ซีเมนต์ชนิดไม่มีการหดตัว หรือ ที่เรานิยมเรียกกันว่า NON-SHRINK นั่นเองนะครับ   โครงสร้างเสาเหล็กในรูปที่แสดงนั้นได้ถูกทำการยึดและติดตั้งลงไปบนเหล็กแผ่นเป็นที่เรียบร้อยแล้ว … Read More

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสภาพของชั้นดินในสถานที่ ที่จะทำการก่อสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกับเรื่องๆ หนึ่งที่ถือได้ว่า มีผล และ มีความสำคัญ อย่างมากต่อการออกแบบให้อาคารหนึ่งๆ นั้นสามารถที่จะต้านทานต่อแรงกระทำจากแผ่นดินไหวได้ นั่นก็คือ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสภาพของชั้นดินในสถานที่ๆ จะทำการก่อสร้าง นั่นเองนะครับ   จากเหตุการณ์หลายๆ เหตุการณ์ในอดีตแสดงให้เราเห็นได้ว่า … Read More

ปัญหาที่เกิดจาก “ผู้รับเหมา”

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะขออนุญาตพาเพื่อนๆ ทุกคนไปทำความรู้จักกันกับปัญหาทั่วๆ ไปที่พวกเราทุกคนอาจจะมีโอกาสได้ไปพบเจอในการทำงานก่อสร้างจริงๆ เพราะทุกครั้งเมื่อเราพูดถึงปัญหาในการทำงานก่อสร้าง เราก็คงต้องยอมรับก่อนว่าในทุกๆ งานก่อสร้างย่อมต้องประสบพบเจอกับปัญหา ไม่ทางใดก็ทางหนึ่งก็ตามแต่ ไม่ว่าจะทำคนเดียวหรือทำเป็นทีมก็ตามแต่ ไม่ว่าจะเป็นงานก่อสร้างที่เล็กหรือใหญ่ก็ตามแต่ เนื่องมาจากเพราะงานก่อสร้างจำเป็นที่จะต้องมีปฏิสัมพันธ์กันกับกลุ่มคนที่มีความหลากหลาย เช่น เจ้าของงาน ผู้ออกแบบ ฝ่ายจัดซื้อจัดจ้าง … Read More

เทคนิคการออกแบบต่อเติมโครงสร้างโดยใช้วิธีการ PRE-LOADING

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยในวันนี้เนื้อหานั้นจะเกี่ยวข้องกับเทคนิคๆ หนึ่งที่ผมได้นำมาใช้ในงานต่อเติมโครงสร้างจริงๆ โดยที่เนื้อหานี้มีความน่าสนใจมากในระดับหนึ่งนั่นก็คือ เทคนิคในการออกแบบต่อเติมโครงสร้างโดยใช้วิธีการ PRE-LOADING ทั้งนี้ก็เพื่อที่เราจะอาศัยโครงสร้างเสาเข็มที่อาจจะมีความลึกไม่มาก กล่าวคือความลึกอาจจะไม่ถึงชั้นดินทราย แต่ ผลกระทบในเรื่องของการทรุดตัวนั้นมีน้อยกว่ากรณีที่ไม่ทำโดยอาศัยเทคนิควิธีการดังกล่าวนี้ โดยที่ก่อนอื่นผมจะขออนุญาตกล่าวนำถึงวิธีการและหลักการของเทคนิคๆ นี้ก่อนนะครับ … Read More

ความรู้เกี่ยวกับการเจาะทดสอบชั้นดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในวันนี้ผมจะมาร่วมกันเสวนาถึงคำถามที่ผมได้เชิญชวนให้เพื่อนๆ ให้มาร่วมสนุกตอบคำถามร่วมกัน โดยที่คำถามที่ผมได้เลือกมานั้นคือเรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการเจาะทดสอบชั้นดิน โดยที่ใจความของคำถามในวันนี้คือ ผมต้องการที่จะใช้เสาเข็มที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง หรือ D เท่ากับ 400 มม ในการรับ นน ของตัวอาคาร หากว่าผลการทดสอบดินระบุว่า ชั้นดินที่ระดับความลึก 19 ม … Read More

ความรู้ทางด้านงานออกแบบ การทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยในวันนี้ผมจะมาตอบคำถามของแฟนเพจท่านหนึ่งทีได้ทิ้งคำถามเอาไว้ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ เสาเข็ม โดยที่ประเด็นนี้จะมีความต่อเนื่องมาจากในสัปดาห์ที่แล้วซึ่งผมก็ถือได้ว่าคำถามๆ นี้มีความน่าสนใจดีนะครับ นั่นก็คือ เพราะเหตุใดเราจึงนิยมใช้ค่าสัดส่วนความปลอดภัยเท่ากับ 2.5 ในการคำนวณหาค่ากำลังการรับน้ำหนักของเสาเข็มเวลาที่เราทำการตรวจสอบการทำ BLOW COUNT นั่นเองครับ … Read More

1 13 14 15 16 17 18 19 34