ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับค่าประสิทธิผลของการตอกเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการตอบปัญหาให้แก่เพื่อนๆ ของเราหลายๆ คนที่ผมเห็นว่าได้ทำการสอบถามกันเข้ามาหลายคนเลย ผมจึงได้ทำการรวบรวมคำถามข้อนี้ออกมาโดยมีใจความโดยรวมว่า   “เวลาที่เราทำการคำนวณหาค่าการทรุดตัวของเสาเข็มหรือ PILE DISPLACEMENT ที่จะใช้เวลาที่ทำการตอกในสิบครั้งสุดท้ายของการตอกเสาเข็มหรือที่เรานิยมเรียกกันว่า LAST … Read More

ปัญหาการคำนวณหาระยะในการยกที่จะส่งผลดีที่สุดต่อหน้าตัดของแท่งคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ ต่อเนื่องจากในสัปดาห์ที่แล้วที่ผมได้ทำการหยิบยกเอาคำถามที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง พื้นฐานการคำนวณทางด้านกลศาสตร์ เอามาเป็นคำถามประจำสัปดาห์และเหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากปัญหาที่ผมได้ทำการตั้งเป็นคำถามประจำวันเสาร์ที่ผ่านมาซึ่งผมได้ถามเพื่อนๆ ไปว่า หากผมมีความต้องการที่จะทำการเคลื่อนย้ายโดยที่ผมจะใช้วิธีการยกแท่งคอนกรีตขนาดความยาวเท่ากับ 20 เมตร ซึ่งมีน้ำหนักเท่ากับ 2 ตัน … Read More

วิธีการสังเกตเพื่อป้องกันมิให้เหล็กเสริมในพื้นหล่อในที่เกิดสนิมเนื่องมาจากน้ำเกิดการรั่วซึม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ จริงๆ ผมมีข้อเสนอแนะสำหรับบรรดาคุณผู้หญิงทั้งหลายว่า หากบังเอิญว่าท่านเป็นแม่บ้านหรืออาจจะเป็นผู้หญิงที่ต้องทำงานนอกบ้าน ทำให้ไม่ค่อยมีเวลาที่จะอยู่บ้านมากมายอะไรนักก็ตาม ท่านก็มีวิธีการในการที่จะช่วยคุณผู้ชายดูแลเรื่องความเรียบร้อยต่างๆ ภายในบ้านได้เช่นกัน ซึ่งหัวข้อในวันนี้ก็คือ วิธีการสังเกตเพื่อป้องกันเรื่องเหล็กเสริมในพื้นหล่อในที่นั้นเกิดสนิมเนื่องมาจากน้ำนั้นเกิดการรั่วซึม   ก่อนอื่นผมอยากให้เพื่อนๆ ดูรูปๆ แรกก่อน … Read More

วิธีในการแก้ไขปัญหา เรื่องรอยร้าวที่เกิดขึ้นเนื่องจากอาคารทั้งสองนี้เกิดการเสียรูปแบบแยกตัวหรือว่าเกิดการทรุดตัวที่มีความแตกต่างกัน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ ตามที่ผมได้เรียนกับเพื่อนๆ ไปในการโพสต์ครั้งที่แล้วว่าวันนี้ผมจะหยิบยกและนำเอาวิธีการในการแก้ไขปัญหาของกรณีปัญหาที่เกิดจากการที่มีรอยร้าวเกิดขึ้นอันเนื่องมาจากอาคารใหม่และอาคารเก่านั้นมีการทำการก่อสร้างทางเชื่อมอาคารและอาคารทั้งสองนั้นก็เกิดการเสียรูปแบบแยกตัวหรือว่าเกิดการทรุดตัวที่มีความแตกต่างกันมาฝากเพื่อนๆ ซึ่งวิธีการดังกล่าวนี้ถือเป็นวิธีการที่อาศัยหลักการพื้นฐานง่ายๆ ดังนั้นจึงสามารถที่จะประยุกต์ใช้ได้กับเกือบทุกๆ อาคารเลยนั่นก็คือ ทำการก่อสร้างทางเชื่อมโดยอาศัยระบบโครงสร้างที่ทำการก่อสร้างแบบแยกส่วนนั่นเอง เอาเป็นว่าเพื่อนๆ สามารถที่จะดูรูปภาพประกอบคำอธิบายของผมก็ได้นะครับ   จากรูปจะเห็นได้ว่าเรามีกรณีที่มีอาคารเก่าอยู่อาคารหนึ่ง ต่อมาก็มีการก่อสร้างอาคารใหม่ขึ้นข้างๆ อาคารหลังนี้ หรือ อีกกรณีหนึ่งก็คือ … Read More

รอยร้าวที่เกิดขึ้น เนื่องจากอาคารเกิดการเสียรูปแบบแยกตัวหรือว่าเกิดการทรุดตัวที่มีความแตกต่างกัน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่ผมจะนำเอาภาพของปัญหาๆ หนี่งที่พวกเรามักพบกันอยู่บ่อยๆ ในงานการก่อสร้างใหม่หรืองานก่อสร้างต่อเติมระหว่างอาคาร 2 อาคารนั่นก็คือ รอยร้าวที่เกิดขึ้นเนื่องจากอาคารทั้งสองนี้เกิดการเสียรูปแบบแยกตัวหรือว่าเกิดการทรุดตัวที่มีความแตกต่างกัน นั่นเองนะครับ จากรูปเพื่อนๆ จะสามารถเห็นได้ว่าที่บริเวณพื้นจะมีรอยร้าวเกิดขึ้นตลอดตามความกว้างของช่องทางเดิน ซึ่งก็จะเห็นได้ว่าได้มีการพยายามที่จะซ่อมแซมรอยร้าวดังกล่าวโดยการอุดด้วยวัสดุอุดรอยร้าวแต่ถึงกระนั้นก็ไม่สามารถที่จะทำให้รอยร้าวดังกล่าวหายไปได้อยู่ดีครับ   จริงๆ แล้วการที่เกิดรอยร้าวดังกล่าวนี้ขึ้นก็อาจจะไม่ได้ถือว่าเป็นปัญหาในการใช้งานโครงสร้างอาคารของเราเท่าใดนักนะครับ นั่นเป็นเพราะว่ารอยร้าวดังกล่าวนี้เกิดจากการที่อาคารทั้งสองนี้เกิดการการเสียรูปแบบแยกตัวหรือว่าเกิดการทรุดตัวที่มีความแตกต่างกัน … Read More

ส่วนประกอบหลักของโครงสร้างโครงหลังคาที่เป็นโครงข้อหมุนหรือว่า TRUSS STRUCTURE

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะมาพูดและให้ความรู้ถึงรายละเอียดต่างๆ และส่วนประกอบหลักของโครงสร้างโครงหลังคาที่เป็นโครงข้อหมุนหรือว่า TRUSS STRUCTURE ต่อเนื่องจากเนื้อหาในสัปดาห์ที่แล้วนะครับ   อย่างที่ผมได้เรียนให้เพื่อนๆ ทราบไปในครั้งที่แล้วว่าในส่วนของ โครงสร้างส่วนหลัก ก็จะได้แก่   … Read More

ปัญหาการฝากเหล็ก ในโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก สำหรับกรณีที่การทำงานโครงสร้างส่วนนั้นมีการแบ่งทำการเทโดยมีเหตุจำเป็น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาร่วมกันเสวนาถึงคำถามที่ผมได้เชิญชวนให้เพื่อนๆ ให้มาร่วมสนุกตอบคำถามร่วมกันเมื่อวันเสาร์ที่ผ่านมา โดยที่ใจความของโจทย์ปัญหาข้อนี้ก็คือ เมื่อเราอาศัยโปรแกรมวิเคราะห์โครงสร้าง MICROFEAP หรือโปรแกรมอื่นๆ เพื่อที่จะทำการวิเคราะห์โครงสร้างประเภทโครงถักหรือ TRUSS ELEMENT ในรูป (1a) โปรแกรมจะสามารถให้คำตอบออกมาได้แต่พอเพิ่มจุดต่อหรือ NODE เข้าไปเหมือนในรูป (1b) ก็จะพบว่าบางโปรแกรมอาจจะพบว่ามี ERROR หรือบางโปรแกรมนั้นจะให้ผลหรือคำตอบที่ค่อนข้างแปลกๆ … Read More

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับขั้นตอนและวิธีในการก่อสร้างโครงสร้างDiaphragmWall

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาพูดถึงรายละเอียดที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเจ้าโครงสร้าง DIAPHRAGM WALL นี้เพิ่มเติมกันต่ออีกสักโพสต์ก็แล้วกันนั่นก็คือ กรรมวิธีและขั้นตอนโดยสังเขปในการก่อสร้างโครงสร้าง DIAPHRAGM WALL แบบโดยตรงภายในชั้นดินนั่นเองครับ   เนื่องจากการก่อสร้างโครงสร้าง DIAPHRAGM … Read More

การเสริมเหล็กรับแรงเฉือนภายในคานประเภทต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ สืบเนื่องจากประเด็นเมื่อสองสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นผมได้ทำการตอบเพื่อนวิศวกรของผมท่านหนึ่งเกี่ยวกับคำถามที่เพื่อนท่านนี้ได้สอบถามผมเข้ามาเกี่ยวกับเรื่องตำแหน่งที่ควรจะวาง TIED BEAM ว่าควรที่จะอยู่ที่บริเวณใดจึงจะเหมาะสมซึ่งผมก็ได้ตอบคำถามข้อนี้ให้ไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ปรากฏว่าผมก็ยังได้รับคำถามต่อเนื่องจากคำถามข้อนี้จากเพื่อนวิศวกรท่านเดิมมาอีกว่า   “ขอสอบถามเกี่ยวกับเสาที่ตั้งอยู่บริเวณปลายคานในกรณีนี้เหล็กเสริมรับแรงเฉือนจะมีรายละเอียดเหมือนหูช้างไหมครับ (คือใส่เหล็กรับแรงเฉือนตามแนวนอน) ใช่หรือไม่ครับ ?”   จริงๆ คำถามข้อนี้เป็นคำถามที่ดี ต้องขอชมเชยคนถามด้วยที่ได้ถามคำถามที่ประโยชน์มากๆ … Read More

การใช้งานและข้อดีข้อด้อยของเสาดินซีเมนต์โดยสังเขป

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากในสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นผมได้ทำการพูดถึงเรื่อง วิธีในการพัฒนากำลังของดิน ให้แก่เพื่อนๆ ไป ปรากฏว่าก็ได้มีความเห็นเข้ามาอย่างต่อเนื่องในอินบ็อกซ์ของผม โดยที่ส่วนใหญ่แล้วอยากที่จะให้ผมอธิบายและยกตัวอย่างถึงวิธีในการปรับปรุงคุณภาพของชั้นดินให้ได้รับทราบกัน ผมจึงคิดว่าน่าจะเป็นการดีหากว่าผมจะใช้เวลาในช่วงวันพุธเพื่อที่จะทำการอธิบายและยกตัวอย่างถึงเรื่องๆ นี้ให้แก่เพื่อนๆ โดยที่วันนี้ผมจึงอยากจะขอพูดถึงเรื่อง การใช้เสาดินซีเมนต์ หรือ … Read More

1 9 10 11 12 13 14 15 34