การเลือกขนาดความหนาของเหล็กแผ่นที่เหมาะสม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ เอาไว้ในการโพสต์เมื่อในสัปดาห์ที่แล้วว่า วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการอธิบายและลงรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับประเด็นในเรื่องของการเลือกขนาดของความหนาของ เหล็กแผ่น หรือ STEEL PLATE ให้แก่เพื่อนๆ ทุกๆ คนได้รับทราบและรับชมกันต่ออีกสักโพสต์หนึ่ง ซึ่งจริงๆ แล้วหากว่าผมจำไม่ผิด … Read More

สภาวะของการที่โครงสร้างเสาเข็มของเรานั้นเกิดแรงดึงฉุดลง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ตามที่ผมได้รับปากเพื่อนๆ เอาไว้ในสัปดาห์ที่ผ่านมาว่าวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการพูดถึง วิธีในการคำนวณหาค่าของ แรงดึงฉุดลง หรือ NEGATIVE SKIN FRICTION ให้เพื่อนๆ ทุกๆ … Read More

ปัญหาเชาวน์ถามเอาฮา

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ หลังจากที่ดูเหมือนว่าเนื้อหาตลอดหลายสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นจะดูเครียดๆ ไปสักเล็กน้อย ดังนั้นในวันนี้ผมจึงได้เลือกนำเอาคำถามที่ตัวของผมเองก็ได้ถูกเพื่อนๆ ของผมในเฟซบุ้คนำมาถามผมเช่นเดียวกัน พอตอบไปปุ๊บเจอคำตอบก็พบว่าขำขันและฮาดี จึงคิดว่าเอามาถามเพื่อนๆ คลายเครียดสักหน่อยก็น่าจะเป็นการดีเหมือนกัน โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ   มีสมการตั้งต้นให้มาทั้งหมด 3 สมการ ผมแค่อยากจะให้เพื่อนๆ … Read More

ค่าความแข็งเกร็งต่อการเสียรูปทางด้านข้างของโครงสร้างPortalFrame

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ   โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้เรื่องวิศวกรรมการคำนวณ ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากการที่เมื่อในหลายสัปดาห์ก่อนหน้านี้ ผมได้นำเอารูปๆ นี้มาทำการตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์ไป โดยที่ในการโพสต์ครั้งก่อนหน้านั้นผมได้ถามไปว่า หากผมทำการสมมติและกำหนดเงื่อนไขเอาไว้ว่า เพื่อนๆ เป็นผู้รับเหมาก่อสร้างในโครงการก่อสร้างแห่งนี้และเพื่อนๆ … Read More

รอยต่อที่ทำหน้าที่ตัดแยกโครงสร้างพื้น กับโครงสร้างเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก ซึ่งมีการวางตัวอยู่บนโครงสร้างฐานรากแบบมีเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ   ผมเคยมีโอกาสได้ทำการโพสต์ถึงเรื่องราวเกี่ยวกับการก่อสร้างพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กแบบชนิดวางบนไปหลายครั้งแล้วก่อนหน้านี้ ซึ่งในการโพสต์ครั้งก่อนๆ นี้ผมได้ทำการพูดถึงจุดต่อหรือ JOINT แบบต่างๆ เช่น รอยต่อที่ทำหน้าที่ป้องกันการหดตัวของโครงสร้างพื้นวางบนดิน หรือ CONTRACTION JOINT รอยต่อที่ทำหน้าที่ป้องกันการขยายตัวของโครงสร้างพื้นวางบนดิน … Read More

ความรู้เรื่องค่าEcและค่าEce

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ   หากว่าเพื่อนๆ ท่านใดเคยเปิดอ่านรายการคำนวณงานวิศวกรรมโครงสร้างที่มีความเกี่ยวข้องกันกับโครงสร้างเสาเข็มแล้วเพื่อนๆ พบว่าค่าของ “โมดูลัสยืดหยุ่น” หรือ ELASTIC MODULUS ที่ใช้ในโครงสร้างเสาเข็มนั้นๆ มีค่าแปลกๆ … Read More

วิธีและขั้นตอนของการทดสอบการรั่วซึมของน้ำที่บริเวณชั้นดาดฟ้าของอาคาร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เวลาที่เราทำการออกแบบพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กแบบหล่อในกรณีที่ทำการก่อสร้างขึ้นในบริเวณทั่วๆ ไปของอาคาร เราจะพบเห็นได้ว่าบริเวณที่ขอบด้านบนและล่างของท้องพื้นนั้นจะเกิดเป็นรอยร้าวเล็กๆ ขึ้นเสมอและเมื่อวันเวลาผ่านไป รอยร้าวเหล่านั้นจะไม่เกิดการพัฒนาตัวเองจนเป็นรอยร้าวที่มีขนาดใหญ่โตมากยิ่งขึ้นซึ่งก็ถือได้ว่ากรณีนี้เป็นเรื่องปกติที่เกิดขึ้นอยู่แล้วนะครับ   หากพูดถึงกรณีของพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กแบบหล่อในที่ๆ ทำการก่อสร้างขึ้นในบริเวณที่เป็นชั้นดาดฟ้าหรือบริเวณพื้นที่แบบเปิด ซึ่งพื้นที่ดังกล่าวจะเป็นพื้นที่ๆ ต้องสัมผัสกับแสงแดดและอากาศภายนอกอยู่ตลอดอายุการใช้งานของมัน เราก็จะพบเห็นได้ว่าบริเวณที่ขอบด้านบนและล่างของท้องพื้นนั้นจะเกิดเป็นรอยร้าวเล็กๆ เหมือนกันกับกรณีแรกแต่เมื่อวันเวลาผ่านไป … Read More

การวิเคราะห์โครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ เนื่องจากเมื่อวันจันทร์ที่แล้วผมได้ทำการจบหัวข้อในเรื่องของการพูดถึงในเรื่อง ADVANCED METHOD FOR STRUCTURAL ANALYSIS ไปเป็นที่เรียบร้อยแล้วและในโพสต์ของวันอังคารผมก็ยังไม่ได้ทำการขึ้นหัวข้อใหม่แต่อย่างใด ดังนั้นในวันนี้ผมจึงอยากจะขออนุญาตพื้นที่ในโพสต์ๆ นี้เพื่อที่จะเป็นการเล่าและก็ทำการสรุปในเรื่องของ STRUCTURAL ANALYSIS METHOD … Read More

การทรุดตัวของเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ตามที่ผมได้ทำการแจ้งกับเพื่อนๆ ไปว่าในสัปดาห์นี้ผมจะขออนุญาตหยิบยกและนำเอาตัวอย่างของการคำนวณหาค่าการทรุดตัวของเสาเข็มเนื่องจาก CONSOLIDATION SETTLEMENT ในกรณีที่โครงสร้างเสาเข็มของเรานั้นเป็นเสาเข็มกลุ่มให้เพื่อนๆ ได้รับชมกัน ดังนั้นเพื่อเป็นการไม่เสียเวลา เรามาดูรายละเอียดต่างๆ ของปัญหาที่จะใช้เป็นตัวอย่างในวันนี้กันเลยดีกว่านะครับ   ผมมีฐานรากที่จะต้องทำหน้าที่ในการรับน้ำหนักกระทำในแนวดิ่งใช้งานเท่ากับ 200 … Read More

การจำแนกประเภทของการรับกำลังของเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ   หลังจากที่เมื่อวานนี้ผมได้โพสต์ไปในหัวข้อ ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ซึ่งเนื้อหาจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง การคำนวณหาค่าการทรุดตัวของเสาเข็มเดี่ยว เลยทำให้ผมนึกถึงคำถามที่ผมเคยได้รับมาสักพักก่อนนี้ว่า   “หากเราทำการทดสอบและคำนวณดูแล้วพบว่า เสาเข็มของเราจะมีทั้งความสามารถในการรับแรงเนื่องจากทั้งแรงฝืดและแรงแบกทานในเวลาเดียวกัน … Read More

1 7 8 9 10 11 12 13 34