วิธีในการคำนวณและ APPLY ใช้งานค่า SOIL SPRING

ref: https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1352864451426343:0   สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาอธิบายถึงเรื่องวิธีในการคำนวณและ APPLY ใช้งานค่า SOIL SPRING ต่อจากโพสต์เมื่อวานนะครับ โดยเนื้อหาในวันนี้ผมมองว่าน้อยครั้งมากๆ ที่จะมีอาจารย์หรือผู้รู้ท่านใดนำมาเผยแพร่และทำความเข้าใจกันนะครับ ซึ่งผมต้องขอขอบพระคุณ ดร สมพร อรรถเศรณีวงศ์ มา ณ โอกาสนี้อีกครั้งนะครับที่ท่านได้ให้ความกรุณานำเนื้อหาส่วนนี้มาเผยแพร่แก่พวกเราทุกๆ นะครับ … Read More

ตย ในการคำนวณหาค่า Ksoil จาก BORING LOG จริงๆ

ref: https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1356898777689577:0 สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน มาตามคำสัญญานะครับ วันนี้ผมจะมาแสดง ตย ในการคำนวณหาค่า Ksoil จาก BORING LOG จริงๆ ให้แก่เพื่อนๆ ได้ดูนะครับ จากรูป ตย นะครับ ผมจะสมมติว่าในโครงการก่อสร้างนี้มีมาตรฐานการทำงานที่ถือว่าทั่วๆ ไป การควบคุมการทำงานจะค่อนไปในทางที่ดี … Read More

การแปลงค่า Ksoil ให้เป็นค่า Kstructure

ref: https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1359154487464006 สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากโพสต์ของผมเมื่อวานที่ผมได้ทำการอธิบายเกี่ยวกับการแปลงค่า Ksoil ให้เป็นค่า Kstructure แก่เพื่อนๆ ไป บังเอิญว่ามีเพื่อนผมท่านหนึ่งได้มาคอมเม้นต์ว่าให้ลองทำการ APPLY ปัญหาข้อนี้ในโปรแกรม MICROFEAP รุ่น P1 ดู ผมต้องเรียนขออภัยเพื่อนท่านนี้มา ณ โอกาสนี้ด้วยนะครับ เพราะตัวผมนั้นไม่ได้ใช้โปรแกรมนี้ … Read More

STIFFNESS – วิธีในการคำนวณหน้าตัด CRACKED SECTION ในหน้าตัด คสล

ref: https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1360112200701568:0 สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้เรายังวนเวียนอยุ่กับคำว่า STIFFNESS อยู่นะครับ โดยผมจะมาตอบคำถามของเพื่อนผมท่านหนึ่งที่ได้ถามผมไว้ก่อนหน้านี้นะครับ เกี่ยวกับเรื่องวิธีในการคำนวณหน้าตัด CRACKED SECTION ในหน้าตัด คสล ว่าหากเราต้องนำค่าๆ นี้มาคำนึงถึงในการวิเคราะห์โครงสร้างเราจะมีวิธีการมใดบ้างนะครับ เราทราบกันดีนะครับว่าในหน้าตัดที่ต้องรับแรงดัด เช่น คาน เสา พื้น เป็นต้น … Read More

การคำนวณค่าโมเมนต์ความเฉื่อยประสิทธิผลเมื่อหน้าตัด คสล ของเรานั้นเป็น CRACKED SECTION

  ref: https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1361318163914305:0 สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกท่าน วันนี้ผมจะมาต่อในเรื่องที่ผมยังค้างเพื่อนๆ เอาไว้กันนะครับ โดยวันนี้ผมจะมาอธิบายเรื่องการคำนวณค่าโมเมนต์ความเฉื่อยประสิทธิผลเมื่อหน้าตัด คสล ของเรานั้นเป็น CRACKED SECTION กัน มาตรฐาน ACI ได้กำหนดไว้ว่าหากจะทำการคำนวณหาค่าการโก่งตัวในโครงสร้างรับแรงดัดที่เสริมเหล็กทางเดียว เราจำเป็นจะต้องนำผลของ 2 ส่วนมาคิด คือ (1) การโก่งตัวแบบทันทีทันใด … Read More

การคำนวณหาค่าการเสียรูปในโครงสร้าง คสล

ref: https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1370505116328943:0 สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากเมื่อวันก่อนที่ผมได้อธิบายไปเกี่ยวกับเรื่องการคำนวณหาค่าการเสียรูปในโครงสร้าง คสล และเมื่อวานนี้มีน้องวิศวกรท่านหนึ่งได้หลังไมค์มาถามผมเกี่ยวกับเรื่องๆ นี้พอดี ผมเห็นว่าเนื้อหานั้นน่าสนใจจึงตัดสินใจนำมาบอกเล่าต่อแก่เพื่อนๆ ด้วยนะครับ น้องท่านนี้ถามผมว่า จากที่ผมได้ระบุว่าวิธีการประมาณค่า STIFFNESS ตาม มยผ 1302 หน้าที่ 50 โดยใน มยผ ได้ระบุเอาไว้ว่า การกำหนดค่า … Read More

วิศวกรรมงานสะพาน หรือ BRIDGE ENGINEERING

ref: https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1373752226004232:0 สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขอมาเล่าให้เพื่อนๆ ได้รู้จักกันถึงอีกแขนงหนึ่งของสาขาวิชาวิศวกรรมโครงสร้าง เผื่อเพื่อนๆ ท่านใดสนใจข้อมูลในวันนี้ก็น่าที่จะมีประโยชน์นะครับ สาขาวิชานี้ก็คือ วิศวกรรมงานสะพาน หรือ BRIDGE ENGINEERING นั่นเองครับ เพื่อนๆ หลายๆ คนอาจจะงงว่ามีวิชาแขนงนี้ด้วยหรือ ? ผมขอตอบตรงนี้เลยนะครับว่า มี ครับ … Read More

ข้อต่อเหล็กข้ออ้อยทางกล หรือที่เรานิยมเรียกกันสั้นๆว่า COUPLER นะครับ

ข้อต่อเหล็กข้ออ้อยทางกล หรือที่เรานิยมเรียกกันสั้นๆว่า COUPLER สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องข้อต่อเหล็กข้ออ้อยทางกล หรือ ที่เรานิยมเรียกกันสั้นๆ ว่า COUPLER นะครับ โดยปกติดในการต่อเหล็กเส้นในงานโครงสร้างเราจะนิยมใช้วิธีต่อทาบเหล็กเสริม โดยที่ระยะทาบนี้จะอยู่ที่ 40D หรือ 50D และ เราจะใช้ลวดมัดหรือเชื่อมติดกัน ถ้าในโครงสร้างมีการเสริมเหล็กจำนวนมาก วิธีการทาบก็ทำให้เหล็กเสริมในโครงสร้างที่จุดต่อแน่นมากขึ้น … Read More

การวิเคราะห์โครงสร้างโดยวิธีการวาง PATTERN LOAD

ref: https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1371801409532647:0 สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาตอบคำถามของน้องท่านหนึ่งที่ผมติดเค้าไว้นานแล้วนะครับ นั่นก็คือเรื่องการวิเคราะห์โครงสร้างโดยวิธีการวาง PATTERN LOAD เพื่อนๆ หลายๆ คนคงจะสงสัย หรือ อาจไม่เคยได้ยินคำๆ นี้ใช่มั้ยครับ ? คำว่า PATTERN LOAD นั้นหมายถึงรูปแบบการจัดวาง นน … Read More

หลักการหนึ่งในการวางเสาเข็มเจาะ (การวาง DOWEL BAR)

สวัสดีครับแฟนเพจทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งในเย็นวันศุกร์สุดท้ายของเดือนกันยายนนะครับ วันนี้แอดมินตั้งใจจะมาเล่าถึงหลักการหนึ่งในการวางเสาเข็มเจาะมาฝากเพื่อนๆ ทุกๆ ท่านกันนะครับ หลักการที่ว่านั่นก็คือ การวาง DOWEL BAR ที่บริเวณหัวของเสาเข็ม นั่นเองครับ ก่อนจะลงลึกในรายละเอียดต้องถามเพื่อนๆ ทุกๆ ท่านก่อนว่า DOWEL BAR คืออะไร ? DOWEL … Read More

1 2 3 4 5 6