ผลของการเยื้องศูนย์ของเสาเข็มในฐานราก F1 นั้นจะส่งผลทางด้านกำลังและเสถียรภาพของตัวฐานรากและตอม่อที่มากกว่าฐานรากประเภทอื่นๆ

ผลของการเยื้องศูนย์ของเสาเข็มในฐานราก F1 นั้นจะส่งผลทางด้านกำลังและเสถียรภาพของตัวฐานรากและตอม่อที่มากกว่าฐานรากประเภทอื่นๆ เนื่องจากว่าฐานราก F1 นั้นถูกนำมักใช้ก่อสร้างอาคารที่มีขนาดไม่ใหญ่โตมาก เช่น บ้านพักอาศัยที่มีน้ำหนักบรรทุกน้อย เป็นต้น โดยในฐานรากที่มีเสาเข็ม 1 ต้น นั้นเรามักที่จะทำการวางให้เสาเข็มนั้นอยู่ตรงกันกับศูนย์กลางของตำแหน่งตอม่อพอดี แต่ ก็มักจะพบว่าการก่อสร้างฐานราก F1 นี้มีปัญหาอันเนื่องมาจากขั้นตอนในการตอกเข็มนั้นมักที่จะเกิดการเยื้องศูนย์ออกไปจากตำแหน่งดังกล่าว ซึ่งจริงๆ แล้วผู้ออกแบบที่มีประสบการณ์ก็มักที่จะนิยมทำการเผื่อเอาไว้สำหรับกรณีไว้ที่ประมาณ 0.10D … Read More

ค่าสัดส่วนความปลอดภัย หรือ SAFETY FACTOR

ค่าสัดส่วนความปลอดภัย หรือ SAFETY FACTOR เวลาที่เราทำการออกแบบค่า นน บรรทุกปลอดภัยของเสาเข็มนั้น ค่า SAFETY FACTOR ที่เรานิยมใช้โดยทั่วๆ ไปนั้นเท่ากับ 2.5 หรือ น้อยที่สุดเท่ากับ 2 นั้น ทางผู้ออกแบบเค้ามีเกณฑ์อย่างไรที่ใช้ในการประเมินและพิจารณาให้ค่าๆ นี้ออกมาเป็นดังนี้ครับ ? … Read More

เทคนิคในการ วิเคราะห์ และ แก้ไข งานวิศวกรรมฐานราก

เทคนิคในการ วิเคราะห์ และ แก้ไข งานวิศวกรรมฐานราก ปัญหาที่พบเจอ คือ ฐานรากใช้ระบบ เสาเข็มเหล็ก ร่วมกันกับ เสาเข็มคอนกรีต แถมฐานรากยังเป็นฐานรากลอยอีกด้วย โดยที่เราไม่สามารถทำการตัดหัวเข็มลงไปได้เนื่องจากข้อจำกัดทางด้านงานสถาปัตยกรรมและการทำงานที่หน้างานนะครับ ปล โดยปกติฐานรากที่มีการใช้งานกันตามปกตินั้นเราจะทำฐานรากให้จมอยู่ใต้ดิน ทั้งนี้เพราะว่า เวลาที่เราทำการใช้งานเสาเข็ม เราจะตั้งสมมติฐานว่าว่าเสาเข็มนั้นถูกยึดรั้งทางด้านข้างไว้ด้วยมวลดิน ทำให้สำหรับกรณีของฐานรากลอยนั้นเราจำเป็นจะต้องคำนึงถึงว่า เสาเข็มจริงๆ … Read More

FLEXURAL FORMULA ในเรื่อง STRESSES IN BEAM

FLEXURAL FORMULA ในเรื่อง STRESSES IN BEAM ในหลายๆ ครั้งเพื่อนๆ มักไม่ได้นำความรู้ รวมไปถึงค่าต่างๆ ในหัวข้อนี้ไปใช้ในการวิเคราะห์ความเค้นในคานกันสักเท่าใดเลยนะครับ เพราะ เพื่อนหลายๆ คนมักจะมีความเข้าใจว่าในการหาค่าความเค้นในคานเราจำเป็นที่จะต้องทำการวิเคราะห์หาแรงปฏิกิริยาของจุดรองรับ หาค่าโมเมนต์ดัด และ จากนั้นเราจึงจะสามารถทราบได้ว่าคานนั้นจะมีความเค้นดัดเกิดขึ้นในหน้าตัดเป็นค่าเท่าใด เอาเป็นว่าวันนี้ผมจะมาให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ ก็แล้วกันนะครับว่าการหาความเค้นดัดในคานนั้นเราไม่จำเป็นที่จะต้องทำเช่นนั้นก็ได้นะครับ เรามาเริ่มต้นดูรูปที่ผมแนบมาด้วยประกอบคำอธิบายของผมกันเลยดีกว่านะครับ … Read More

แฟคเตอร์ลดกำลังสำหรับกรณีที่เราทำการออกแบบเสายาว (SLENDER COLUMN) โดยวิธีหน่วยแรงใช้งาน (WORKING STRESS DESIGN METHOD)

แฟคเตอร์ลดกำลังสำหรับกรณีที่เราทำการออกแบบเสายาว (SLENDER COLUMN) โดยวิธีหน่วยแรงใช้งาน (WORKING STRESS DESIGN METHOD) หากเราทำการออกแบบเสาคอนกรีตเสริมเหล็กโดย วิธีหน่วยแรงใช้งาน เราจะสามารถพิจารณาทำการออกแบบโดยพิจารณาว่าโครงสร้างเสาของเรานั้นเป็น เสาสั้น หรือ เสายาว ได้โดยการพิจารณาจาก หากอัตราส่วน L/r ≤ 60 เราไม่จำเป็นจะต้องลดกำลังต้านทานแรงอัดในเสาเลย … Read More

วิธีในการคำนวณหาค่า p นี้ในการแทนค่าหาค่า σ max ในโครงสร้างคานรับแรงดัด

วิธีในการคำนวณหาค่า p นี้ในการแทนค่าหาค่า σ max ในโครงสร้างคานรับแรงดัด ในหลายๆ ครั้งเพื่อนๆ มักไม่ได้นำความรู้ รวมไปถึงค่าต่างๆ ในหัวข้อนี้ไปใช้ในการวิเคราะห์ความเค้นในคานกันสักเท่าใดเลยนะครับ เพราะ เพื่อนหลายๆ คนมักจะมีความเข้าใจว่าในการหาค่าความเค้นในคานเราจำเป็นที่จะต้องทำการวิเคราะห์หาแรงปฏิกิริยาของจุดรองรับ หาค่าโมเมนต์ดัด และ จากนั้นเราจึงจะสามารถทราบได้ว่าคานนั้นจะมีความเค้นดัดเกิดขึ้นในหน้าตัดเป็นค่าเท่าใด เอาเป็นว่าวันนี้ผมจะมาให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ ก็แล้วกันนะครับว่าการหาความเค้นดัดในคานนั้นเราไม่จำเป็นที่จะต้องทำเช่นนั้นก็ได้นะครับ เรามาเริ่มต้นดูรูปที่ผมแนบมาด้วยประกอบคำอธิบายของผมกันเลยดีกว่านะครับ … Read More

ตำแหน่งของระยะวิกฤติสำหรับการออกแบบแรงเฉือนในคาน

ตำแหน่งของระยะวิกฤติสำหรับการออกแบบแรงเฉือนในคาน สาเหตุที่ผมต้องนำเรื่องๆ นี้มาอธิบายแก่เพื่อนๆ เพราะ เท่าที่ผมสังเกตมาโดยตลอด ผมพบว่าเมื่อเพื่อนๆ ทำการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คาน คสล ให้ต้องสามารถที่จะต้านทานต่อแรงเฉือนที่เกิดขึ้นได้นั้น ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วเพื่อนๆ จะใช้ หน้าตัด และ ค่าแรงเฉือน ณ ตำแหน่งศูนย์กลางของจุดรองรับ หรือ ที่ระยะ L … Read More

มาตรฐานอื่นๆ นอกเหนือไปจากมาตรฐาน ASTM

สวัสดีครับ วันนี้ Mr.เสาเข็ม จะมาพูดถึงเรื่องมาตรฐานอื่นๆ ซึ่งนอกเหนือจาก มาตรฐาน ASTM (AMERICAN SOCIETY FOR TESTING AND MATERIALS) ที่หลายๆท่าน อาจจะรู้จักกันดีอยู่แล้ว ซึ่งจะมีอะไรบ้างนั้น Mr.เสาเข็ม นำมาไว้ให้แล้วครับ รายชื่อของมาตรฐานเหล่านี้ก็ได้แก่ (1) การทดสอบตามมาตรฐานของสถาบันนานาชาติแห่งประเทศอเมริกา หรือ … Read More

ทิศทางในการวางหน้าตัดของเสาเข็มที่ถูกต้อง

สวัสดีครับ เพื่อนๆทุกท่าน วันนี้ Mr.เสาเข็ม ได้นำความรู้เกี่ยวกับการก่อสร้างและวิศวกรรม มาฝกาเช่นเคย วันนี้จะเป็นเรื่อง ทิศทางในการวางหน้าตัดของเสาเข็มที่ถูกต้อง สำหรับ ทิศทางในการวางหน้าตัดของเสาเข็มที่ถูกต้องนั้น ต้องขออธิบายเสียก่อนนะครับปัญหาจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อ (1) หน้าตัดของเสาเข็มนั้นเป็นแบบ ไม่สมมาตรใน แกนใดแกนหนึ่ง หรือ ทุกๆ แกน เช่น เสาเข็มหน้าตัดรูปตัวไอ … Read More

ประโยชน์ของการใช้โปรแกรม FINITE ELEMENT ร่วมกันกับโปรแกรมอื่นๆ

ช่วงบ่ายๆแบบนี้ ความรู้เกี่ยวกับงานก่อสร้าง จาก Mr.เสาเข็ม มาอีกแล้วนะครับ วันนี้จะเป็น เรื่อง ประโยชน์ของการใช้โปรแกรม FINITE ELEMENT ร่วมกันกับโปรแกรมอื่นๆ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาเล่ามาแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ เกี่ยวกับเนื้อหาเบาๆ เกี่ยวกับเรื่อง ประโยชน์ของการใช้โปรแกรม FINITE ELEMENT ร่วมกันกับโปรแกรมอื่นๆ ที่เพื่อนทั่วๆ ไปน่าที่จะมีความคุ้นเคยกันดีอยู่แล้ว นั่นก็คือ … Read More

1 2 3 4 5 6