เสาเข็ม มีความสำคัญกับการสร้างใหม่อย่างไร?? และควรเลือกใช้เสาเข็มแบบไหน??
เสาเข็ม มีความสำคัญกับการสร้างใหม่อย่างไร?? และควรเลือกใช้เสาเข็มแบบไหน?? ก่อนที่จะเริ่มการก่อสร้างทุกชนิด สิ่งแรกที่จะต้องเริ่มทำคือ การตอกเสาเข็ม เพราะเสาเข็มเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการรับน้ำหนักจากโครงสร้างทั้งหมด ถ่ายเทลงสู่พื้นดิน โดยในการตอกเสาเข็มจะต้องตอกให้ถึงชั้นดินทรายแข็ง เพราะเป็นชั้นที่สามารถรับน้ำหนักได้ดีที่สุด หากตอกลงไปไม่ถึงชั้นดินทรายนี้ อาจทำให้เกิดปัญหาการทรุดตัวได้ในอนาคต และในทุกการตอกเสาเข็มจะต้องมีการออกแบบและคำนวณความปลอดภัยของเสาเข็มโดยวิศวกรที่มีประสบการณ์ และเสาเข็มนั้นมีมากมายหลายประเภท ขึ้นอยู่กับลักษณะหรือรูปแบบของการก่อสร้าง ภูมิสยาม เราขอแนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เสาเข็มที่เป็นได้มากกว่าการต่อเติม เพราะเป็นเสาเข็มที่มีความหนาแน่นสูง … Read More
ผลของการเยื้องศูนย์ของเสาเข็มในฐานราก F1 นั้นจะส่งผลทางด้านกำลังและเสถียรภาพของตัวฐานรากและตอม่อที่มากกว่าฐานรากประเภทอื่นๆ
ผลของการเยื้องศูนย์ของเสาเข็มในฐานราก F1 นั้นจะส่งผลทางด้านกำลังและเสถียรภาพของตัวฐานรากและตอม่อที่มากกว่าฐานรากประเภทอื่นๆ เนื่องจากว่าฐานราก F1 นั้นถูกนำมักใช้ก่อสร้างอาคารที่มีขนาดไม่ใหญ่โตมาก เช่น บ้านพักอาศัยที่มีน้ำหนักบรรทุกน้อย เป็นต้น โดยในฐานรากที่มีเสาเข็ม 1 ต้น นั้นเรามักที่จะทำการวางให้เสาเข็มนั้นอยู่ตรงกันกับศูนย์กลางของตำแหน่งตอม่อพอดี แต่ ก็มักจะพบว่าการก่อสร้างฐานราก F1 นี้มีปัญหาอันเนื่องมาจากขั้นตอนในการตอกเข็มนั้นมักที่จะเกิดการเยื้องศูนย์ออกไปจากตำแหน่งดังกล่าว ซึ่งจริงๆ แล้วผู้ออกแบบที่มีประสบการณ์ก็มักที่จะนิยมทำการเผื่อเอาไว้สำหรับกรณีไว้ที่ประมาณ 0.10D … Read More
ค่าโมดูลัสยืดหยุ่นของดิน
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ วันนี้ผมจะมาแชร์ความรู้และทำการอธิบายเรื่องค่าโมดูลัสยืดหยุ่นของดินในส่วนที่ผมได้ค้างเอาไว้ให้แก่เพื่อนทุกๆ คนนะครับ อย่างที่ผมเรียนไปในการโพสต์ก่อนหน้านี้นะครับว่าหลายๆ ครั้งในการแก้ปัญหาทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างฐานราก ซึ่งจะพบว่าในหลายๆ ครั้งเราเองมีความจำเป็นที่จะต้องทำการตั้งสมมติฐานว่าดินนั้นจะมีคุณลักษณะเป็นเหมือนวัสดุยืดหยุ่นอื่นๆ นะครับ … Read More
ลักษณะของการเกิดการแตกร้าวในเนื้อคอนกรีต
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในวันนี้ผมจะขอมายกตัวอย่างกันให้เห็นถึงลักษณะของการเกิดการแตกร้าวในเนื้อคอนกรีตกันต่อจากเมื่อวานนะครับ มาเริ่มต้นกันทีละภาพนะครับ (A) เริ่มจากภาพ (A) เป็นแผนภาพที่แสดงให้เห็นถึงการแตกร้าวของคอนกรีตทั้งแบบ STRUCTURAL CRACK และ NON-STRUCTURAL CRACK นะครับ จะเห็นได้ว่าปัญหาส่วนใหญ่นั้นจะเกิดจากการที่ผู้ทำงานไม่ใส่ใจที่จะดูแลเรื่องร่วเหล่านี้ไป ทั้งๆ ที่สามารถจะทำได้ตามปกติวิสัยของการทำงานอยู่แล้ว (B) ในรูป (B) … Read More