ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้ เกี่ยวกับเทคนิคการใช้งานซอฟต์แวร์
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ สืบเนื่องมาจากการที่มีรุ่นน้องวิศวกรท่านหนึ่งเค้าคงจะทราบมาว่าตัวผมนั้นเป็นสามัญวิศวกรโยธาที่ทำงานทางด้านการออกแบบและการเสริมกำลังให้แก่โครงสร้างมาก็ไม่น้อย เค้าจึงได้ฝากคำถามสั้นๆ แต่ได้ใจความเข้ามาคำถามหนึ่งในทำนองว่า อยากให้ผมให้ข้อแนะนำเกี่ยวกับเทคนิคการใช้งานซอฟต์แวร์ที่มีกระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์ หรือ FINITE ELEMENT ANALYSIS หรือเขียนสั้นๆ ว่า … Read More
การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE)
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเฉลยและมา DISCUSS ร่วมกันกับเพื่อนๆ ถึงประเด็นคำถามที่ผมได้ฝากเอาไว้ตั้งแต่เมื่อวานนั่นก็คือ จะเห็นได้ว่าโครงสร้างในรูปๆ นี้ได้วิบัติไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ซึ่งจะเห็นได้ว่าโครงสร้างๆ นี้อยู่ในรูปแบบที่สูญเสีย เสถียรภาพ และ … Read More
จุดต่อที่ถ่ายแรงดัด และจุดต่อแบบกึ่งถ่ายแรงดัด
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ ตามที่ผมได้รับปากเพื่อนๆ เอาไว้ว่าในสัปดาห์นี้ผมจะขออนุญาตนำเอาเรื่องของจุดต่อที่จะถ่ายแรงดัดด้วยและจุดต่อแบบกึ่งถ่ายแรงดัดมาพูดถึงและอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ให้มีความรู้และความเข้าใจที่มากยิ่งขึ้นและตามที่ผมได้เริ่มต้นอธิบายไปเมื่อสัปดาห์ที่แล้วว่า โครงสร้างเหล็กรูปพรรณของเรานั้นจะมีจุดต่อภายในโครงสร้างเป็นแบบใดแบบหนึ่งหรืออาจจะมีทั้ง 3 แบบข้างต้นก็มีความเป็นไปได้ สำคัญอยู่ที่ผู้ทำการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างจะเป็นผู้กำหนดลงไปในแบบวิศวกรรมโครงสร้างและเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องจากสัปดาห์ที่แล้วที่ผมได้เริ่มต้นทำการพูดถึงจุดต่อที่จะถ่ายแค่แรงเฉือนเพียงเท่านั้นไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว วันนี้ผมจะขอทำการอธิบายให้เพื่อนๆ ได้ทำความรู้จักกันกับจุดต่อที่จะถ่ายแรงดัด หรือ MOMENT CONNECTION … Read More
puzzle-201843
ปัญหาเชาว์ Facebook Page https://www.facebook.com/bhumisiam เฉลย : มีครับ เพราะฝาท่อวงกลมจะมีรูปทรงที่วัดความกว้างของฝาท่อแล้ว จะมีค่าเท่ากับเส้นผ่านศูนย์กลางเสมอ เมื่อออกแบบให้รูด้านล่างเส้นผ่านศูนย์กลางเล็กกว่านิดหนึ่ง เพื่อรับกับฝาท่อตอนปิดฝา เมื่อบิดหรือหมุนฝาท่อไปมุมมุมใดๆก็ตาม ฝาก็ไม่มีทางจะหลุดล่วง ลงไปในท่อครับ แต่ถ้าเป็นรูปทรงเหลี่ยม เช่น สี่เหลี่ยม เมื่อนำมาปิดท่อแล้วบิดหมุนดู จะพบว่ามีโอกาสที่ฝาท่อจะหลุดล่วง ลงไปในท่อได้ ครับ … Read More