รอยแตกในผนังอิฐก่อใต้พื้นชั้นล่างของอาคาร
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ เมื่อช่วงเวลาตลอดสัปดาห์ที่ผ่านมาก่อนหน้านี้ผมได้ทำการพูดถึงและหยิบยกและนำเอาประเด็นของการที่อาคารนั้นเกิดการวิบัติเนื่องจากปัญหาของการที่เราละเลยในเรื่องของสภาพชั้นดินซึ่งในตัวอย่างที่ผมนำเอามาให้เพื่อนๆ ได้รับชมนั้นก็จะเป็นปัญหาที่มีความใหญ่มากเลยทีเดียวและเมื่อวันศุกร์ที่ผ่านมาผมก็ได้นำเอาปัญหาที่ต้องถือว่ามีความเล็กน้อยหรือเบาบางกว่าปัญหาในกรณีก่อนหน้านี้เป็นอย่างมากแต่ในขณะเดียวกันก็ได้สร้างความปวดเศียรเวียนเกล้าให้แก่เจ้าของบ้านไม่น้อยเลยทีเดียวเอามาฝากเพื่อนๆ ด้วยซึ่งจะเป็นกรณีที่ทางเจ้าของบ้านได้ทำการต่อเติมส่วนหลังคากันสาดเหล็กออกมา โดยที่ปลายข้างหนึ่งนั้นยึดเข้ากับตัวบ้านเดิมและปลายอีกข้างหนึ่งนั้นก็ถูกยึดเข้ากับโครงสร้างพื้นที่ไม่ได้ทำการลงเสาเข็มใดๆ เอาไว้เลย ซึ่งพอเวลาผ่านไปผลที่ได้ตามมาก็คือ โครงสร้างพื้นที่ไม่ได้ทำการลงเสาเข็มใดๆ เอาไว้ก็เกิดการทรุดตัวลงไป ซึ่งจากการสอบถามไปยังเจ้าของบ้านก็ได้รับคำยืนยันมาว่า โครงสร้างส่วนต่อเติมนี้เพิ่งจะมีการก่อสร้างมาได้เพียงไม่กี่ปีเท่านั้นแต่จากในรูปเพื่อนๆ … Read More
เสาเข็มต่อเติม สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย แนะนำใช้เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ครับ
เสาเข็มต่อเติม สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย แนะนำใช้เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ครับ ด้วยคุณสมบัติ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ และมีหลายขนาด 21, 23, 25, 30 ซม. และที่สำคัญ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน ทำงานเสร็จใว จึงเหมาะกับ … Read More
เสาเข็มต่อเติมอาคาร ต่อเติมในพื้นที่จำกัด แนะนำเสาเข็ม SPUN MICRO PILE มาตรฐาน มอก. โดย BSP-Bhumisiam
เสาเข็มต่อเติมอาคาร ต่อเติมในพื้นที่จำกัด แนะนำเสาเข็ม SPUN MICRO PILE มาตรฐาน มอก. โดย BSP-Bhumisiam เสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. และ การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 20-50 … Read More
การออกแบบเสาเข็ม
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ (รูปที่ 1) วันนี้ผมจะขอมาเอาใจวิศวกรภูธรกันบ้างนะครับ แหะๆ ผมล้อเล่นนะครับ ที่ผมพูดแบบนี้เพราะในหลายวันที่ผ่านมาผมได้พูดถึงค่า PARAMETER ที่สำคัญของดินไปหลายค่ามากๆ ซึ่งเมื่อเราได้ทำการทดสอบและคำนวณค่าเหล่านี้มาได้ เรามักต้องนำข้อมูลเหล่านี้ไปทำการออกแบบเสาเข็ม ซึ่งฐานรากที่ต้องเป็นระบบเสาเข็ม (ดูรูปที่ 1 ขวามือ) เราจะเรียกว่า ระบบฐานรากลึก (DEEP FOUNDATION) … Read More