สาเหตุทางกายภาพของการเกิด รูตามด
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาอธิบายถึงสาเหตุทางกายภาพของการเกิด รูตามด ซึ่งก็จะรวมไปถึงเทคนิคในการทำงานอย่างไร ที่จะช่วยทำให้ รูตามด นั้นเกิดขึ้นน้อยลงหรือไม่เกิดขึ้นเลยเมื่อเพื่อนๆ ต้องทำงานเทคอนกรีตสดไปในโครงสร้างนะครับ เรามาเริ่มต้นกันที่สาเหตุก่อนก็แล้วกันนะครับ … Read More
เมื่อเสาถูกยึดขึ้นไปในโครงสร้างที่เป็นคานชั้นบน หรือคานชั้นหลังคา
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ สืบเนื่องมาจากที่ก่อนหน้านี้มีรุ่นพี่วิศวกรที่ผมรักและเคารพท่านหนึ่งเคยมาปรึกษาผมเกี่ยวกับการเตรียมตัวสอบเพื่อเลื่อนขั้นเป็นวิศวกรในระดับสามัญ โดยมีคำถามๆ หนึ่งที่เค้านำมาสอบถามผมเกี่ยวกับเรื่อง ความจำเป็น (REQUIREMENT) ในการงอขอ (BAR BENT) เหล็กเสริมของเสา … Read More
การออกแบบวิศวกรรมพลศาสตร์
การออกแบบวิศวกรรมพลศาสตร์ (STRUCTURAL DYNAMICS ENGINEERING หรือ SDE) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมพลศาสตร์ (STRUCTURAL DYNAMICS ENGINEERING หรือ SDE) นะครับ เนื่องจากในช่วงเวลาที่ผ่านมานั้นมีน้องๆ วิศวกรหลายๆ คนเข้ามาปรึกษาและอยากให้ผมให้ ตย ในการคำนวณเกี่ยวกับการออกแบบโครงสร้างเพื่อรับแรงชนิดพลศาสตร์ (DYNAMICS … Read More
มวลและน้ำหนัก
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ในเรื่องวิศวกรรมพลศาสตร์ ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ สมมติว่าผมได้ทำการวัดมวลของรถซิตี้คาร์คันหนึ่งบนโลกซึ่งก็จะมีค่าแรงโน้มถ่วงเท่ากับ 9.807 M/SEC^(2) มีค่ามวลเท่ากับ 1000 KGM และพอนำเอารถคันดังกล่าวไปชั่งน้ำหนักก็จะพบว่ามีค่าน้ำหนักเท่ากับ … Read More