บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile และไอไมโครไพล์(เสาเข็มไอ) I-Micropile ต่อเติมในพื้นที่แคบได้อย่างสะดวกรวดเร็ว 

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile และไอไมโครไพล์(เสาเข็มไอ) I-Micropile ต่อเติมในพื้นที่แคบได้อย่างสะดวกรวดเร็ว  ต่อเติมบ้าน ต้องการเสาเข็ม เลือกใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ และไอไมโครไพล์ เป็นเสาเข็มขนาดเล็กที่มีความมั่นคงแข็งแรงสูง ป้องกันการทรุดตัวของส่วนต่อเติมได้อย่างตรงจุด หากมีพื้นที่แคบก็สามารถเข้าตอกในพื้นที่แคบได้สะดวก หรือจะตอกชิดกำแพงที่มีกระจกก็ไม่มีปัญหา เพราะใช้ปั้นจั่นแบบพิเศษในการตอก ขณะตอกแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก สามารถตอกชิดกำแพงได้ 50 ซม.จากเซ็นเตอร์เสาเข็ม โดยไม่ทำให้โครงสร้างเดิมหรือกระจกเกิดความเสียหาย … Read More

ความรู้เรื่องวิศวกรรมความปลอดภัย

ความรู้เรื่องวิศวกรรมความปลอดภัย ในความเป็นจริงแล้ว วิศวกรรมความปลอดภัยนั้น ไม่ได้มีความเกี่ยวข้องเฉพาะกับงานในสาขาวิศวกรรมโยธาเพียงสาขาเดียวเท่านั้น แต่ศาสตร์ทางด้านนี้ถือเป็นสาขาวิชาการหนึ่งที่มุ่งเน้นทำการศึกษา และทำการจัดการเกี่ยวกับระบบต่างๆ ของการทำงาน โดยที่จะเน้นไปที่การผลิตภายในโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งก็อาจจะครอบคลุมตั้งแต่การออกแบบผลิตภัณฑ์ การกำหนดมาตรฐานความปลอดภัยของอุปกรณ์ในการผลิต ในการติดตั้ง รวมไปถึงในขั้นตอนและวิธีการทำงาน อีกทั้งยังเป็นหลักสูตรที่พูดถึงเรื่องของการประเมินความเสี่ยงในเชิงคณิตศาสตร์อีกด้วย ด้วยเหตุนี้จึงทำให้ สาขาวิศวกรรมความปลอดภัยนั้น จะเน้นรูปแบบของการทำงานเพื่อให้เกิดความปลอดภัย โดยที่จะให้สอดคล้องกันกับระดับที่มีความเหมาะสมกับลักษณะของงานนั้นๆ ซึ่งแน่นอนว่าย่อมเป็นเรื่องที่ดีอยู่แล้วหากเราจะสามารถทำการควบคุมหรือจำกัดการเกิดของอุบัติเหตุได้ เพราะวิธีการนี้เป็นวิธีการที่เราจะทำการ “ป้องกัน” … Read More

ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขอแทรกเนื้อหาการโพสต์ประจำวันด้วยปัญหาที่เพิ่งจะเกิดขึ้นเมื่อวานนี้กรณีหนึ่งที่บังเอิญว่ามีน้องบนเฟซบุ้คของผมท่านหนึ่งได้อินบ็อกซ์เข้ามาเพื่อปรึกษาเรื่องป้ายโฆษณาป้ายหนึ่งซึ่งมีความสูงจากพื้นดินประมาณ 7500 มม หรือ 7.50 เมตร   พอผมได้เห็นลักษณะและรูปร่างจากรูปถ่ายแล้วก็เลยได้สอบถามไปยังน้องท่านนี้ถึงกรณีของจุดรองรับของโครงสร้างดังกล่าวว่ามีลักษณะเป็นเช่นใด คำตอบที่ได้ก็คือ เนื่องจากทางเจ้าของมีความเห็นว่าป้ายๆ นี้ไม่ได้มีความสูงอะไรมากมายนัก ซึ่งแน่นอนว่าน้ำหนักหรือแรงกระทำในแนวดิ่งเองก็มีค่าที่น้อยมากๆ เช่นเดียวกัน นั่นเลยเป็นเหตุให้ทางเจ้าของโครงสร้างของเฟรมเหล็กเฟรมนี้ไม่ได้ใส่ใจที่จะให้วิศวกรโครงสร้างหรือผู้ที่มีความรู้ทางด้านงานวิศวกรรมเป็นผู้ดำเนินการออกแบบและให้รายละเอียดในส่วนของงานวิศวกรรมโครงสร้างให้แก่โครงสร้างๆ … Read More

การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC)

การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการยก ตัวอย่าง พร้อมกับอธิบายหลักในการวิเคราะห์โครงสร้างคานรับแรงดัดที่ต้องรับแรงกระทำชนิดแผ่กระจายตัวแบบสม่ำเสมอ (DISTRIBUTED LOAD) ในรูปแบบที่มีความแตกต่างกันทั้ง … Read More

1 37 38 39 40 41 42 43 188