บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ต่อเติมปรับปรุงโครงสร้างอาคาร ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile ภูมิสยาม

ต่อเติมปรับปรุงโครงสร้างอาคาร ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile ภูมิสยาม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ คือ เสาเข็มที่ใช้นวัตกรรมแบบใหม่ในการผลิต ถูกออกแบบมาเพื่อการก่อสร้าง ต่อเติม และปรับปรุงโครงสร้าง ลดปัญหาการทรุดตัว เสาเข็มของภูมิสยามได้รับ มาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 และมีคุณสมบัติที่ดีในเรื่องของแรงสั่นสะเทือนน้อย เพื่อไม่ให้ส่งผลกระทบต่อโครงสร้างเดิม โดยใช้ปั้นจั่นที่ถูกออกแบบมาเป็นพิเศษ … Read More

วิธีการเสริมความแข็งแรงของโครงสร้าง ให้มีค่าความต้านทาน ต่อการรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุที่เพิ่มสูงขึ้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ หลังจากที่เมื่อวานนี้ผมได้พูดถึงวิธีในการเสริมความแข็งแรงของโครงสร้างให้สามารถที่จะมีค่าความต้านทานต่อการรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุที่เพิ่มสูงขึ้นสำหรับกรณีที่โครงสร้างนั้นมีความวิกฤติต่อประเภทของ นน บรรทุกในแนวดิ่งไปแล้ว ดังนั้นในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาพูดถึงเรื่องวิธีในการเสริมความแข็งแรงของโครงสร้างให้สามารถที่จะมีค่าความต้านทานต่อการรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุที่เพิ่มสูงขึ้นสำหรับกรณีที่โครงสร้างนั้นมีความวิกฤติต่อประเภทของ นน บรรทุกในแนวราบอย่างแรงกระทำจากแผ่นดินไหวให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกันต่อก็แล้วกันนะครับ   เริ่มจากการที่เราจะต้องทำการเลือกนำเอาวิธีการออกแบบๆ … Read More

ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากเมื่อช่วงเวลาประมาณปลายๆ สัปดาห์ที่แล้วคุณโอ CEO หนุ่มรูปหล่อของภูมิสยามได้ต่อสายหาผม รบกวนให้ผมช่วยติดตามสอบถามไปยังลูกค้าท่านหนึ่งของคุณโอ เนื่องด้วยลูกค้าท่านนี้มีคำถามเกี่ยวกับรายการคำนวณเรื่องการตอกเสาเข็ม หรือ PILE DRIVEN CALCULATION ผมจึงได้ต่อสายและพูดคุยกับลูกค้าท่านนี้ให้ … Read More

ตำแหน่งของระยะวิกฤติสำหรับการออกแบบแรงเฉือนในคาน

ตำแหน่งของระยะวิกฤติสำหรับการออกแบบแรงเฉือนในคาน สาเหตุที่ผมต้องนำเรื่องๆ นี้มาอธิบายแก่เพื่อนๆ เพราะ เท่าที่ผมสังเกตมาโดยตลอด ผมพบว่าเมื่อเพื่อนๆ ทำการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คาน คสล ให้ต้องสามารถที่จะต้านทานต่อแรงเฉือนที่เกิดขึ้นได้นั้น ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วเพื่อนๆ จะใช้ หน้าตัด และ ค่าแรงเฉือน ณ ตำแหน่งศูนย์กลางของจุดรองรับ หรือ ที่ระยะ L … Read More

1 17 18 19 20 21 22 23 188