บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ระยะเยื้องศูนย์ของแรงกระทำตามแนวแกนภายในเสา

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ ปัญหานี้จะพบได้ในงานออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กและงานวิศวกรรมโครงสร้างเหล็กเป็นหลัก ซึ่งจริงๆ แล้วปัญหาที่ผมหยิบยกนำมาเสวนากับเพื่อนๆ ในวันนี้จะไม่เกิดขึ้นเลยหากว่าผู้ออกแบบนั้นมีความรู้และความเข้าใจในการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างเสาที่ดีเพียงพอ นั่นก็คือ ปัญหาการที่ผู้ออกแบบนั้นมักจะทำการออกแบบรายละเอียดของส่วนโครงสร้างเสา โดยที่ไม่มีการคำนึงถึงให้โครงสร้างเสาต้นนั้นๆ สามารถที่จะรับโมเมนต์ดัดที่มีโอกาสจะเกิดขึ้นได้หรือพูดง่ายๆ ก็คือ ไม่มีการคำนึงถึงเรื่องระยะเยื้องศูนย์ของแรงกระทำตามแนวแกนภายในเสาต้นนั้นๆ เลยนั่นเองครับ   ปัญหานี้เสมือนเป็นปัญหาโลกแตกสำหรับคนที่ทำอาชีพการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างของอาคารเลยก็ว่าได้ ซึ่งโดยมากเราอาจจะพบปัญหาๆ … Read More

โปรแกรมวิเคราะห์โครงสร้าง MICROFEAP

สวัสดีครับแฟน ๆ ที่รักทุกท่าน     กลับมาพบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันเสาร์ที่ผ่านมาวันนี้ผมได้มีโอกาสมาฟังการบรรยายของอาจารย์ที่ปรึกษาดรธีระธีระวงศ์โดยในเอกสารการบรรยายที่อ่านแล้วก็พบว่าพวกเขาได้รับ คำถามต่าง ๆ ที่น่าสนใจหัวข้อ: วิเคราะห์โครงสร้างหัวเรื่อง: เอาไว้หัวเรื่อง: ผมด้วยหัวเรื่อง: การคิดว่าได้ได้ได้จะเก็บไว้ได้ดีและก็เหมือนกันเหมือนเคยขณะนี้ในห้างหุ้นส่วนจำกัดห้างหุ้นส่วนจำกัดห้างหุ้นส่วนจ กัดห้างหุ้นส่วนจำกัดห้างหุ้นสวน จำกัด ทุก ๆ หัวเรื่อง: หัวเรื่อง: หัวเรื่อง: … Read More

หลักการพื้นฐานที่ใช้ในการวิเคราะห์โครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขอแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ถึงหลักการพื้นฐานที่เราใช้ในการวิเคราะห์โครงสร้าง ซึ่งเป็นหลักการง่ายๆ ที่มีความตรงไปตรงมา แต่ ถือว่ามีประโยชน์ต่อการวิเคราะห์โครงสร้างมากๆ นะครับ นั่นก็คือเรื่องทฤษฎีของ SUPERPOSITION นั่นเองครับ หลักการของ SUPERPOSITION เป็นแนวคิดพื้นฐานของทฤษฎีของการวิเคราะห์โครงสร้าง โดยที่มีข้อกําหนดว่าในการแอ่นตัว และ หมุนตัว (DISPLACEMENT) และ … Read More

ปัญหาการฝากเหล็ก ในโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก สำหรับกรณีที่การทำงานโครงสร้างส่วนนั้นมีการแบ่งทำการเทโดยมีเหตุจำเป็น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาร่วมกันเสวนาถึงคำถามที่ผมได้เชิญชวนให้เพื่อนๆ ให้มาร่วมสนุกตอบคำถามร่วมกันเมื่อวันเสาร์ที่ผ่านมา โดยที่ใจความของโจทย์ปัญหาข้อนี้ก็คือ เมื่อเราอาศัยโปรแกรมวิเคราะห์โครงสร้าง MICROFEAP หรือโปรแกรมอื่นๆ เพื่อที่จะทำการวิเคราะห์โครงสร้างประเภทโครงถักหรือ TRUSS ELEMENT ในรูป (1a) โปรแกรมจะสามารถให้คำตอบออกมาได้แต่พอเพิ่มจุดต่อหรือ NODE เข้าไปเหมือนในรูป (1b) ก็จะพบว่าบางโปรแกรมอาจจะพบว่ามี ERROR หรือบางโปรแกรมนั้นจะให้ผลหรือคำตอบที่ค่อนข้างแปลกๆ … Read More