บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

การต่อเติมโครงสร้างหลังคากันสาด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ   โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากรูปที่แสดงจะเห็นได้ว่าเป็นกรณีของรูปที่แสดงด้านริมนอกสุดของตัวอาคาร โดยที่เงื่อนไขในการก่อสร้างตัวอาคารเดิมก็คือ ในโครงการก่อสร้างแห่งนี้ไม่ได้มีการดำเนินการทดสอบดินเพื่อที่จะหาคุณสมบัติต่างๆ ของดินเอาไว้เลยแต่ก็ยังถือว่าเป็นเรื่องที่ดีว่า อาคารเดิมหลังนี้ได้มีการก่อสร้างขึ้นโดยที่ใช้โครงสร้างเสาเข็มยาว … Read More

BLOW COUNT สำหรับ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ – มาตรฐานในการทดสอบว่าเสาเข็มที่ตอกไปลงลึกจนถึงระดับที่จะสามารถรับน้ำหนักปลอดภัย

BLOW COUNT สำหรับ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ – มาตรฐานในการทดสอบว่าเสาเข็มที่ตอกไปลงลึกจนถึงระดับที่จะสามารถรับน้ำหนักปลอดภัย โดยปกติถ้าเป็นดินที่อยู่แถวกรุงเทพฯ ซึ่งจะเป็นดินอ่อน การจะตอกเสาเข็มให้ลึกจนถึงชั้นดินแข็งได้ก็จะต้องตอกให้ลึกประมาณ 21 เมตร หากใช้เสาเข็มแบบสปันไมโครไพล์ก็จะต้องใช้เสาเข็ม 14 ท่อนในการตอก 1 ต้น แต่เนื่องจากว่าหน้าดินของแต่ละที่ไม่เหมือนกันดังนั้นจึงต้องหาวิธีที่เป็นมาตรฐานในการทดสอบว่าเสาเข็มที่ตอกไปลงลึกจนถึงระดับที่จะสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ วิธีที่นิยมใช้ก็คือการนับโบว์เคาท์ Last 10 … Read More

ปัญหาเชาว์ วันที่ 2018-02-14

เฉลย ปัญหาเชาว์ Facebook Page https://www.facebook.com/bhumisiam เติมเลข 87 ครับ ลองกลับด้านภาพดูจะทราบครับ ว่าเรียงลำดับ 86 – 87 – 88 – 89 – 90   วันพุธนี้ Mr. SpunMan มีปัญหาเชาว์ … Read More

ปัญหาของการที่ดินเกิดการกัดเซาะหายไปในการทำงานก่อสร้างเสาเข็ม ที่มีกลไกการรับแรงเป็นแบบเสาเข็มแรงฝืด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่ผมจะมายกตัวอย่างถึงปัญหางานวิศวกรรมโครงสร้างที่พบได้จริงๆ ในชีวิตประจำวันของเราๆ ซึ่งในวันนี้ผมจะหยิบยกเอากรณีของปัญหาต่อเนื่องจากปัญหาในสัปดาห์ที่แล้วนะครับ   โดยที่ประเด็นในวันนี้จะมีอยู่ด้วยกัน 2 ประเด็นหลักๆ ด้วยกัน   ประเด็นแรก เมื่อเกิดเหตุการณ์เหมือนเช่นในรูปนั่นก็คือ ดินนั้นเกิดการทรุดตัวลงไปมากจนทำให้เสาเข็มที่อยู่ใต้ฐานรากนั้นลอยโผล่ขึ้นมาจนลอยตัวอยู่ระดับเหนือดินที่ทรุดตัวลงไป จนในที่สุดก็จะไม่มีดินที่จะคอยทำหน้าที่ในการประคองพื้นที่รอบๆ ทางด้านข้างของตัวโครงสร้างเสาเข็มอีกต่อไป … Read More

1 173 174 175 176 177 178 179 188