การเสริมเหล็กเพื่อป้องกันการวิบัติแบบต่อเนื่อง (PROGRESSIVE COLLAPSE REINFORCEMENT)
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการตอบปัญหาให้แก่น้องวิศวกรของผมท่านหนึ่งทีได้สอบถามมาเกี่ยวข้องกันกับการเสริมเหล็กเพื่อป้องกันการวิบัติแบบต่อเนื่อง (PROGRESSIVE COLLAPSE REINFORCEMENT) ในกรณีที่เรานั้นทำการออกแบบพื้น FLAT PLATE ไม่ว่าจะด้วยระบบ คสล … Read More
เมื่อเสาถูกยึดขึ้นไปในโครงสร้างที่เป็นคานชั้นบน หรือคานชั้นหลังคา
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ สืบเนื่องมาจากที่ก่อนหน้านี้มีรุ่นพี่วิศวกรที่ผมรักและเคารพท่านหนึ่งเคยมาปรึกษาผมเกี่ยวกับการเตรียมตัวสอบเพื่อเลื่อนขั้นเป็นวิศวกรในระดับสามัญ โดยมีคำถามๆ หนึ่งที่เค้านำมาสอบถามผมเกี่ยวกับเรื่อง ความจำเป็น (REQUIREMENT) ในการงอขอ (BAR BENT) เหล็กเสริมของเสา … Read More
วิธีในการประยุกต์ใช้วิธีการ CASTIGLIANO’S 2ND THEOREM
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันจันทร์แบบนี้ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการอธิบายวิธีในการประยุกต์ใช้วิธีการ CASTIGLIANO’S 2ND THEOREM สำหรับกรณีที่เรามีความต้องการที่จะทำการวิเคราะห์หาค่าระยะของการโก่งตัวในโครงสร้างโครงข้อหมุนแบบ 2 มิติ หรือว่า PLANE TRUSS แก่เพื่อนๆ โดยที่เพื่อนๆ สามารถที่จะดูรูปตัวอย่างประกอบคำอธิบายของผมได้นะครับ … Read More
การออกแบบการสั่น อันเนื่องมาจากเครื่องจักร
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ เอาไว้เมื่อสัปดาห์ก่อนว่าในวันนี้ผมจะขออนุญาตนำเอาเรื่องราวรายละเอียดต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องการออกแบบการสั่นอันเนื่องมาจากเครื่องจักรเอามามาพูดถึงและอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ให้มีความรู้และความเข้าใจที่มากยิ่งขึ้นและหากจะว่ากันด้วยเรื่องรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกันกับเรื่องๆ นี้แล้วเนื้อหาทั้งหมดของมันนั้นมีอยู่ด้วยกันค่อนข้างที่จะเยอะมากเลยทีเดียว ดังนั้นเพื่อให้การโพสต์ตลอดก่อนที่จะถึงช่วงปีใหม่นั้นมีความกระชับและได้ประโยชน์สูงสุดผมจึงจะขออนุญาตเลือกหัวข้อที่มีความสำคัญมาก 2 ประเด็นมาพูดถึงนั่นก็คือ 1. รูปแบบของการสั่นสะเทือนและวิธีในการทำการตรวจวัดการสั่นสะเทือนของเครื่องจักร 2. รูปแบบและวิธีแก้ไขการสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากเครื่องจักร ซึ่งในสัปดาห์นี้ก็คือวันศุกร์ที่ 18 และในสัปดาห์สุดท้ายก็คือวันศุกร์ที่ 25 ซึ่งก็จะถือได้ว่าเป็นวันศุกร์สุดท้ายของปี พ.ศ. … Read More