บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

เสาเข็มที่ตอบโจทย์ การต่อเติมทุกพื้นที่ ตอกเสริมโครงสร้างอาคารใหญ่-เล็ก วิศวกรมั่นใจเลือกใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์แท้ ภูมิสยามครับ

เสาเข็มที่ตอบโจทย์ การต่อเติมทุกพื้นที่ ตอกเสริมโครงสร้างอาคารใหญ่-เล็ก วิศวกรมั่นใจเลือกใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์แท้ ภูมิสยามครับ ตอกเสาเข็มฐานป้ายจราจร ฐานเสาสัญญาน หรือโครงสร้างทุกชนิดเพื่อป้องกันการทรุด เสาเข็มภูมิสยามฯ ตอบโจทย์ครับ ถ้าเป็นโครงสร้างเบาแนะนำสปันไมโครไพล์ แบบสี่เหลี่ยม S18x18 cm. หรือ 22 cm. แนวทแยง รับน้ำหนัก 15-20 … Read More

ประเภทของยางมะตอย ที่นิยมนำมาใช้งานเทปิดผิวหน้าของทางและถนน

ประเภทของยางมะตอย ที่นิยมนำมาใช้งานเทปิดผิวหน้าของทางและถนน ยางมะตอย ก็คือ วัสดุที่สกัดได้จากน้ำมันดิบ มีลักษณะเป็นสีดำ มีความเหนียว และความหนืดที่ค่อนข้างจะต่ำ ยางมะตอยนิยมใช้ในงานการก่อสร้างทางและถนนเป็นหลัก โดยที่จะใช้เป็นวัสดุปิดทับที่ผิวหน้า ซึ่งคุณสมบัติที่สำคัญของยางมะตอยก็คือจะทำหน้าที่ประสานระหว่างวัสดุหยาบ เช่น หิน ทราย เป็นต้น โดยจะช่วยทำให้การผสมนั้นเข้ากันจนเป็นเนื้อเดียวกันได้ดียิ่งขึ้น โดยวัสดุที่ถูกนำมาใช้ในการเทผิวหน้าของถนนนั้นจะมีชื่อเรียกแบบเต็มๆ ว่า แอสฟัลท์ติกคอนกรีต หรือ … Read More

BLOW COUNT สำหรับ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ – มาตรฐานในการทดสอบว่าเสาเข็มที่ตอกไปลงลึกจนถึงระดับที่จะสามารถรับน้ำหนักปลอดภัย

BLOW COUNT สำหรับ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ – มาตรฐานในการทดสอบว่าเสาเข็มที่ตอกไปลงลึกจนถึงระดับที่จะสามารถรับน้ำหนักปลอดภัย โดยปกติถ้าเป็นดินที่อยู่แถวกรุงเทพฯ ซึ่งจะเป็นดินอ่อน การจะตอกเสาเข็มให้ลึกจนถึงชั้นดินแข็งได้ก็จะต้องตอกให้ลึกประมาณ 21 เมตร หากใช้เสาเข็มแบบสปันไมโครไพล์ก็จะต้องใช้เสาเข็ม 14 ท่อนในการตอก 1 ต้น แต่เนื่องจากว่าหน้าดินของแต่ละที่ไม่เหมือนกันดังนั้นจึงต้องหาวิธีที่เป็นมาตรฐานในการทดสอบว่าเสาเข็มที่ตอกไปลงลึกจนถึงระดับที่จะสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ วิธีที่นิยมใช้ก็คือการนับโบว์เคาท์ Last 10 … Read More

การเสริมเหล็กเพื่อป้องกันการวิบัติแบบต่อเนื่อง (PROGRESSIVE COLLAPSE REINFORCEMENT)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการตอบปัญหาให้แก่น้องวิศวกรของผมท่านหนึ่งทีได้สอบถามมาเกี่ยวข้องกันกับการเสริมเหล็กเพื่อป้องกันการวิบัติแบบต่อเนื่อง (PROGRESSIVE COLLAPSE REINFORCEMENT) ในกรณีที่เรานั้นทำการออกแบบพื้น FLAT PLATE ไม่ว่าจะด้วยระบบ คสล … Read More

1 161 162 163 164 165 166 167 188