บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

สปันไมโครไพล์ SPUN MICROPILE มาตรฐาน มอก. โดย BSP เหมาะกับงานต่อเติมครับ

สปันไมโครไพล์ SPUN MICROPILE มาตรฐาน มอก. โดย BSP เหมาะกับงานต่อเติมครับ สวัสดีครับ ช่วงนี้งานต่อเติมบ้านกำลังมาแรง วันนี้ Mr.SpunMan มีภาพการเตรียมต่อเติมฐานรากบ้าน เพิ่มเติมจากเมื่อวาน มาฝากครับ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โดย BSP-Bhumisiam … Read More

ขั้นตอนและวิธีการตอกเสาเข็มเพื่อการต่อเติม สปันไมโครไพล์ (SPUN MICRO PILE)

ขั้นตอนและวิธีการตอกเสาเข็มเพื่อการต่อเติม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) ภูมิสยามซัพพลาย มีกระบวนการดังนี้ ย้ายตัวปั่นจั่นให้เข้าที่ เพื่อให้ตรงกับตำแหน่งที่จะทำการลงเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และหลังจากนั้นจะทำการทดสอบโดยการทิ้งลูกดิ่งเพื่อหาจุดศูนย์กลางว่าได้ระยะดิ่งตรงกลางระหว่าง cap pile กับหมุดศูนย์ที่กำหนดไว้หรือไม่ ทิ้งลูกดิ่งเพื่อหาจุดศูนย์กลางว่าได้ระยะดิ่งตรงกลางระหว่าง cap pile กับหมุดศูนย์ที่กำหนดไว้หรือไม่ นำเสาเข็มสปันไมโครไพล์ท่อนแรกไปวางในตำแหน่งที่กำหนดไว้ พร้อมทั้งตรวจสอบความถูกต้องโดยการจับระดับด้วยมาตรวัดระดับน้ำเพื่อให้ได้แนวดิ่ง ทั้งแกน x และ … Read More

ตอกเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile และเสาเข็มสปัน เสาเข็มไมโครไพล์ Spun Micro Pile ต่อเติมบ้าน ในพื้นที่จำกัด เข้าทำงานง่าย สะดวกรวดเร็ว

ตอกเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile และเสาเข็มสปัน เสาเข็มไมโครไพล์ Spun Micro Pile ต่อเติมบ้าน ในพื้นที่จำกัด เข้าทำงานง่าย สะดวกรวดเร็ว การต่อเติมบ้าน หากส่วนที่ต่อเติมมีน้ำหนักมาก โครงสร้างเดิมอาจจะไม่สามารถรับน้ำหนักได้ทั้งหมด จะต้องมีการตอกเสาเข็มเพื่อเสริมตัวโครงสร้างเดิมด้วย เพื่อป้องกันปัญหาที่จะตามมา เช่น รอยร้าวตามผนัง มุมบ้าน … Read More

ความรู้ในเบื้องต้นเกี่ยวกับ โครงสร้างป้องกันไม่ให้ดินพัง หรือ SOIL RETAINING STRUCTURTES

ความรู้ในเบื้องต้นเกี่ยวกับ โครงสร้างป้องกันไม่ให้ดินพัง หรือ SOIL RETAINING STRUCTURTES จุดประสงค์ของการก่อสร้างโครงสร้างป้องกันไม่ให้ดินพัง คือ การป้องกันการเคลื่อนตัวของมวลดิน ไม่ให้ดินเกิดการเคลื่อนที่เข้ามาสู่ตัวโครงสร้างจนโครงสร้างเกิดการวิบัติขึ้น ทั้งนี้การประยุกต์ใช้โครงสร้างป้องกันไม่ให้ดินพังในทางวิศวกรรรม เช่น งานดินถม งานดินขุด งานสะพาน งานโครงสร้างเพื่อป้องมิให้น้ำท่วม เป็นต้น ซึ่งโดยส่วนมากแล้วโครงสร้างป้องกันไม่ให้ดินพังนั้นมักที่จะก่อสร้างขึ้นในรูปแบบของกำแพงหรือ WALL ที่จะทำหน้าที่ในการกันดิน … Read More

1 158 159 160 161 162 163 164 188