บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ เนื่องจากก่อนหน้านี้ผมได้เคยอธิบาย และ ให้คำแนะนำให้แก่เพื่อนๆ ได้ทราบกันไปแล้วนะครับว่า หากในการทำงานก่อสร้างนั้นมีการทำงานเสาเข็มและเสาเข็มเกิดการเยื้องศูนย์ออกไปมากจนเกินมาตรฐานที่ยอมให้เกิดขึ้นได้ วิธีการที่ดีที่สุดในการแก้ไขปัญหานี้ คือ เราควรที่จะทำการแก้ไขโดยการทำ TRANSFER … Read More

ต่อเติมอาคาร ต่อเติมโรงงาน วิศวกรมั่นใจสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) โดย ภูมิสยาม

ต่อเติมอาคาร ต่อเติมโรงงาน วิศวกรมั่นใจสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) โดย ภูมิสยาม ต้องการต่อเติมอาคาร ต่อเติมโรงงาน แนะนำใช้เสาเข็ม สปันไมโครไพล์แท้ โดยภูมิสยาม เสาเข็มมีความแข็งแกร่งสูงจากการสปัน และได้มาตรฐาน มอก. 397-2524 ตอกเสริมฐานรากให้มีความมั่นคงแข็งแรง รับน้ำหนักได้อย่างปลอดภัย และสามารถตอกชิดกำแพงได้ 50 … Read More

ต่อเติมหน้าบ้าน ต่อเติมข้างบ้าน แนะนำเสา เข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) โดย ภูมิสยาม

ต่อเติมหน้าบ้าน ต่อเติมข้างบ้าน แนะนำเสา เข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) โดย ภูมิสยาม งานตอกเสาเข็มต่อเติมบ้าน แนะนำใช้เสาเข็ม สปันไมโครไพล์แท้ มาตรฐาน มอก. 397-2524 โดยภูมิสยาม เสาเข็มที่มีความมั่นคงแข็งแรง คุณภาพสูง ปั้นจั่นมีขนาดที่เหมาสม สามารถเข้าทำงานในที่แคบหรือพื้นที่จำกัดได้ ขณะตอกแรงสั่นสะเทือนน้อย ไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างอาคารเดิม … Read More

ผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG

ผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ หากว่าเพื่อนๆ ยังจำกันได้เมื่อหลายสัปดาห์ก่อนผมเคยนำเอาเรื่องหลักในการคำนวณหาค่ากำลังความสามารถในการรับแรงแบกทานของดินตามวิธีการของ TERZAGHI มาอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกัน ซึ่งในหัวข้อนั้นเองผมยังได้ทำการพูดถึงประเด็นๆ หนึ่งที่มีความเกี่ยวข้องและถือได้ว่ามีความสำคัญไม่น้อยในการออกแบบงานวิศวกรรมฐานรากของอาคารนั่นก็คือเรื่อง ระดับของน้ำใต้ดิน … Read More

1 144 145 146 147 148 149 150 188