สร้างอาคารใหม่ หรือ ต่อเติมอาคาร แนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ SPUN MICRO PILE มาตรฐาน มอก.
สร้างอาคารใหม่ หรือ ต่อเติมอาคาร แนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ SPUN MICRO PILE มาตรฐาน มอก. BSP-Bhumisiam เราพร้อมบริการทั่วประเทศ ครับ เสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. และ การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด … Read More
การรับน้ำหนักบรรทุกของ ฐานรากแบบเสาเข็ม (Pile Foundation)
การรับน้ำหนักบรรทุกของ ฐานรากแบบเสาเข็ม (Pile Foundation) การวิบัติของเสาเข็ม การวิบัติของเสาเข็ม จะเกิดขึ้นได้เมื่อรับน้ำหนักบรรทุกเกินผลรวมของกำลังรับน้ำหนักบรรทุกที่ปลาย กับกำลังรับน้ำหนักบรรทุกที่ผิวของเสาเข็ม แต่ในความเป็นจริงแล้ว แรงต้านจะเกิดขึ้นเมื่อเสาเข็มถูกกระทำจนเกิดการเคลื่อนที่ แรงต้านที่ผิวจะเกิดเมื่อเสาเข็มเคลื่อนตัว 5-10 มม. แต่แรงต้านที่ปลายต้องการการเคลื่อนที่ที่สูงกว่ามาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากเป็นเสาเข็มเจาะ อาจสูงถึงร้อยละสิบของขนาดเสาเข็ม ดังนั้น ในการออกแบบจึงมักประมาณกำลังรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มจากแรงเสียดทานเท่านั้น ยกเว้นในกรณีที่ตัวเสาเข็มอยู่ในชั้นดินอ่อนและปลายอยู่ในชั้นดินแข็งอย่างชัดเจนจึงนำกำลังรับน้ำหนักบรรทุกที่ปลายมาคำนวณด้วย กำลังรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มตอก (Driven … Read More
COLD JOINT – การแก้ปัญหาเวลาที่เทคอนกรีต แล้วคอนกรีตขาดช่วง
ในทางทฤษฎีการหยุดเทคอนกรีตนานเกิน 30 นาที ถ้าจะเทใหม่จะต้องรออีก 20 ชั่วโมง แต่ด้วยเวลาที่จำกัดเพื่อที่จะต้องเร่งปิดงานให้เสร็จทันกำหนดจึงไม่สามารถรอนานขนาดนั้นได้ เพราะจะไปกระทบกับงานในช่วงถัดไปที่ได้กำหนดเวลาเอาไว้แล้ว ดังนั้นจึงควรเทคอนกรีตให้ต่อเนื่องรวดเดียวจนเสร็จ แต่ก็มักจะมีเหตุสุดวิสัยที่ต้องหยุดงาน เช่น คอนกรีตขาดช่วงเพราะรถส่งคอนกรีตมาหน้างานไม่ทัน เป็นต้น ในบล็อกนี้จึงได้เขียนถึงการแก้ปัญหาเวลาคอนกรีตขาดช่วงแล้วจะทำยังไงให้เกิดความเสียหายน้อยที่สุด การแก้ปัญหาเวลาที่เทคานคอนกรีตแล้วคอนกรีตขาดช่วง วิเคราะห์ตามโครงสร้างของคานคอนกรีต จะมีความสามารถรับแรงอัดและแรงเฉือนได้ดี แต่จะไม่สามารถรับแรงดึงได้ ดังนั้นจึงจะเป็นต้องมีเหล็กเสริมเพื่อเพิ่มความสามารถในตรงนี้ และตามลักษณะของโมเมนต์กับแรงเฉือน … Read More
ประสบการณ์เกี่ยวกับ การก่อสร้างเสาเข็มที่มีคุณภาพไม่ดี
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ สืบเนื่องจากเมื่อประมาณสองถึงสามสัปดาห์ก่อนหน้านี้ได้มีแฟนเพจท่านหนึ่งได้ทำการสอบถามเข้ามาในอินบ็อกซ์ส่วนตัวของผมโดยมีใจความของข้อความว่า “ทราบมาว่าตัวผมนั้นทำหน้าที่เป็นผู้ออกแบบและผู้ควบคุมการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเป็นหลัก เลยอยากจะถามว่าจากประสบการณ์ส่วนตัวของผมนั้นเคยเจอกรณีใดที่มีการทำงานการก่อสร้างเสาเข็มที่มีคุณภาพแบบแย่ๆ เป็นอย่างไรบ้าง ถ้าหากว่าเป็นไปได้ก็อยากให้ผมนั้นยกตัวอย่างเป็นรูปหรือกรณีประกอบคำอธิบายด้วยก็น่าจะดีครับ” จริงๆ ผมก็คิดอยู่นานนะว่าจะเอาอย่างไรดีเพราะมีหลายๆ โครงการเลยที่เป็นกรณีแบบนี้ ซึ่งผมคิดไปคิดมาแล้วผมจึงตัดสินใจขอยกเอากรณีศึกษาจากโครงการก่อสร้างแห่งหนึ่งก็แล้วกัน ซึ่งผมก็จะขอออกตัวเอาไว้ก่อนล่วงหน้าเลยว่า … Read More