กลไกที่ทำให้การปรับเปลี่ยนมุมของอาคาร ช่วยลดความรุนแรงของแรงลมได้
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง การออกแบบงานวิศวกรรมลมและแผ่นดินไหว (WIND & SEISMIC ENGINEERING DESIGN หรือ WSE) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาอธิบายต่อถึงเหตุผลว่าด้วยกลไกที่ทำให้การปรับเปลี่ยนมุมของอาคารนั้นช่วยลดความรุนแรงของแรงลมได้กันต่ออีกสักโพสต์ก็แล้วกันนะครับ หากจะอธิบายถึงสาเหตุที่ทำให้การปรับเปลี่ยนมุมของอาคารนั้นช่วยลดความรุนแรงของแรงลมได้เราต้องย้อนกลับไปที่เรื่องกลศาสตร์ของไหล (MECHANICS OF FLUID) นะครับซึ่งจะมีความละเอียดและซับซ้อนพอสมควรนะครับ ผมจึงจะขออนุญาตทำการอธิบายแต่เพียงสังเขปก็แล้วกันนะครับ สาเหตุหลักๆ … Read More
ค่าคาบการสั่นไหวพื้นฐาน หรือ NATURAL VIBRATION PERIOD ของอาคาร
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างอาคารสูง (TALL BUILDING DESIGN หรือ TBD) นะครับ เนื่องจากเมื่อประมาณ 2 สัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมไปเป็นวิทยากรบรรยายและให้ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบโครงสร้างให้สามารถที่จะต้านทานต่อแรงกระทำจากแผ่นดินไหวให้แก่หน่วยงานเอกชนหน่วยงานหนึ่ง ซึ่งในวันนี้ยังเป็นแค่การบรรยายในส่วนพื้นฐานเพียงเท่านั้น ผมยังไมไดลงลึกในรายละเอียด และ ยังไมได้แสดง ตย ในการออกแบบ ได้มีน้องวิศวกรท่านหนึ่งได้สอบถามผมมาเกี่ยวกับขั้นตอนในการคำนวณ … Read More
การคำนวณหาว่าระยะการเสียรูปตามแนวแกนของวัสดุ
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ สำหรับนักเรียนและนักศึกษา ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากโครงสร้างแท่งเหล็กทั้ง 4 ชิ้นดังรูปๆ นี้จะมีความยาวโดยรวมทั้งสิ้น 240 เซนติเมตร … Read More
ตำแหน่งของระยะวิกฤติสำหรับการออกแบบแรงเฉือนในคาน
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน วันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาทำการยก ตย เพื่อที่จะขยายความคำอธิบายแก่เพื่อนๆ ถึงเรื่อง ตำแหน่งของระยะวิกฤติสำหรับการออกแบบแรงเฉือนในคาน นะครับ ใน ตย นี้ผมขอยก ตย คาน คสล อันหนึ่งที่มีการวางตัวอย่างง่าย (SIMPLY SUPPORTED) ที่มีช่วงความยาวเท่ากับ 8 ม คานๆ … Read More