ความรู้เรื่องค่าEcและค่าEce
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ หากว่าเพื่อนๆ ท่านใดเคยเปิดอ่านรายการคำนวณงานวิศวกรรมโครงสร้างที่มีความเกี่ยวข้องกันกับโครงสร้างเสาเข็มแล้วเพื่อนๆ พบว่าค่าของ “โมดูลัสยืดหยุ่น” หรือ ELASTIC MODULUS ที่ใช้ในโครงสร้างเสาเข็มนั้นๆ มีค่าแปลกๆ … Read More
SPUN MICROPILE สาเข็ม ต่อเติมข้างบ้าน ไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย สามารถตอกชิดกำแพงได้ 50 ซม. จากเซ็นเตอร์เสาเข็ม ครับ
SPUN MICROPILE สาเข็ม ต่อเติมข้างบ้าน ไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย สามารถตอกชิดกำแพงได้ 50 ซม. จากเซ็นเตอร์เสาเข็ม ครับ เพราะว่า เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงการเพื่อการระบายดินสามารถลดแรงสั่นสะเทือนได้ และ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย – สวัสดีครับ ช่วงนี้งานเสริมฐานรากอาคาร … Read More
เสาเข็มสปันไมโครไพล์คืออะไร?? นอกจากงานต่อเติมแล้ว สามารถใช้ในงานสร้างใหม่ได้หรือไม่??
เสาเข็มสปันไมโครไพล์คืออะไร?? นอกจากงานต่อเติมแล้ว สามารถใช้ในงานสร้างใหม่ได้หรือไม่?? เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เสาเข็มที่เป็นที่นิยมในการต่อเติม เพราะด้วยขนาดของเสาเข็ม และปั้นจั่นที่ใช้ ทำให้สามารถเข้าตอกในพื้นที่จำกัดได้สะดวก ขณะตอกแรงสั่นสะเทือนน้อย จึงไม่สงผลกระทบต่อโครงสร้างเดิม และนอกจากการต่อเติม เสาเข็มชนิดนี้ยังสามารถใช้ในงานสร้างใหม่ได้ เป็นเสาเข็มที่ถูกออกแบบมาเพื่อการรับน้ำหนัก โดยสามารถรับน้ำหนักได้ตามที่วิศวกรออกแบบ ถึง15-50 ตัน/ต้น (ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่) และถึงแม้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ จะมีความยาวเพียง 1.5 … Read More
ความรู้ทางด้านงานออกแบบ การทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยในวันนี้ผมจะมาตอบคำถามของแฟนเพจท่านหนึ่งทีได้ทิ้งคำถามเอาไว้ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ เสาเข็ม โดยที่ประเด็นนี้จะมีความต่อเนื่องมาจากในสัปดาห์ที่แล้วซึ่งผมก็ถือได้ว่าคำถามๆ นี้มีความน่าสนใจดีนะครับ นั่นก็คือ เพราะเหตุใดเราจึงนิยมใช้ค่าสัดส่วนความปลอดภัยเท่ากับ 2.5 ในการคำนวณหาค่ากำลังการรับน้ำหนักของเสาเข็มเวลาที่เราทำการตรวจสอบการทำ BLOW COUNT นั่นเองครับ … Read More