บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

การงอปลายของเหล็กเสริม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการไขข้อข้องใจแก่เพื่อนวิศวกรท่านหนึ่งที่เคยสอบถามผมมาว่า เหตุใดในบางครั้งเมื่อเรามองดูเหล็กเสริมในฐานราก ไม่ว่าจะเป็น ฐานรากวางบนดิน หรือ ฐานรากวางบนเสาเข็ม ก็ตาม คือ การงอปลายของเหล็กเสริม เพราะ บางครั้งเราจะพบว่าที่ปลายของเหล็กเสริมในฐานรากจะถูกยืดออกโดยไม่มีการงอขอเลย และ ในบางครั้งก็จะพบว่าที่ปลายของเหล็กเสริมในฐานรากก็จะถูกงอขอ ? วันนี้เราจะมาหาคำตอบกันนะครับ ในตอนเริ่มแรกเราจะมาดูรูป ตย ของปัญหาที่เรากำลังสนใจนี้กันก่อนนะครับ … Read More

ต่อเติมหน้าบ้าน ต่อเติมข้างบ้าน แนะนำเสา เข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) โดย ภูมิสยาม

ต่อเติมหน้าบ้าน ต่อเติมข้างบ้าน แนะนำเสา เข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) โดย ภูมิสยาม งานตอกเสาเข็มต่อเติมบ้าน แนะนำใช้เสาเข็ม สปันไมโครไพล์แท้ มาตรฐาน มอก. 397-2524 โดยภูมิสยาม เสาเข็มที่มีความมั่นคงแข็งแรง คุณภาพสูง ปั้นจั่นมีขนาดที่เหมาสม สามารถเข้าทำงานในที่แคบหรือพื้นที่จำกัดได้ ขณะตอกแรงสั่นสะเทือนน้อย ไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างอาคารเดิม … Read More

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ เนื่องจากก่อนหน้านี้ผมได้เคยอธิบาย และ ให้คำแนะนำให้แก่เพื่อนๆ ได้ทราบกันไปแล้วนะครับว่า หากในการทำงานก่อสร้างนั้นมีการทำงานเสาเข็มและเสาเข็มเกิดการเยื้องศูนย์ออกไปมากจนเกินมาตรฐานที่ยอมให้เกิดขึ้นได้ วิธีการที่ดีที่สุดในการแก้ไขปัญหานี้ คือ เราควรที่จะทำการแก้ไขโดยการทำ TRANSFER … Read More

การทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ (Dynamic Load Test)

การทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ (Dynamic Load Test) เป็นที่ยอมรับทั่วไปและมีมาตรฐานรองรับ ได้แก่ ASTM D4945-96 นอกจากนั้น การทดสอบดังกล่าวมีข้อดีหลายประการ เช่น 1. สามารถทำการทดสอบได้ภายในระยะเวลาสั้น ๆ เสาเข็มหลายต้นสามารถทําการทดสอบได้ในวันเดียว 2. ต้องการพื้นที่รอบๆ เสาเข็มไม่มากนักในการเตรียมการทดสอบ 3. ผลการทดสอบให้ข้อมูลที่เพียงพอเกี่ยวกับเสาเข็มในเรื่องของกําลังรับน้ําหนักและความสมบูรณ์ของเสาเข็ม … Read More

1 102 103 104 105 106 107 108 188