บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านนะครับ  หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ     ผมต้องขออภัยเพื่อนๆ และพี่ๆ น้องๆ อีกหลายคนที่ยังมีเรื่องราวและคำถามที่ได้ฝากกันเข้ามา แต่ เนื่องด้วยภารกิจต่างๆ ของผมมันช่างมากมายเหลือเกิน … Read More

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เสาเข็มต่อเติม มาตรฐาน มอก. โดย BSP เหมาะสำหรับ ต่อเติมบ้าน

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เสาเข็มต่อเติม มาตรฐาน มอก. โดย BSP เหมาะสำหรับ ต่อเติมบ้าน สวัสดีครับ ช่วงนี้งานต่อเติมบ้านกำลังมาแรง วันนี้ Mr.SpunMan มีภาพการเตรียมต่อเติมฐานรากบ้าน เพิ่มเติมจากเมื่อวาน มาฝากครับ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โดย BSP-Bhumisiam … Read More

โมเมนต์ความเฉื่อยของหน้าตัด หรือ MOMENT OF INERTIA

โมเมนต์ความเฉื่อยของหน้าตัด หรือ MOMENT OF INERTIA สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากเมื่อไม่นานมานี้ได้มีเพื่อนท่านหนึ่งที่เป็นแฟนเพจที่น่ารักของพวกเราได้ให้ความกรุณาทำการสอบถามปัญหาเข้ามาข้อหนึ่งที่มีใจความว่า “ขออนุญาตสอบถามครับ ในการทำโครงถัก ระหว่าง หน้าตัดเหล็กแบบกลมกลวง กับ หน้าตัดเหล็กแบบสี่เหลี่ยมกลวง อันไหนจะใช้งานได้ดีกว่ากันและเพราะอะไรครับ พอดีผมมีโครงการที่จะต่อเติมขยายบ้านกับร้านค้าและไม่ชอบที่มีเสาเยอะๆ … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ เนื่องจากเมื่อวานนี้ผมได้ทำการทดสอบเรื่องกำลังรับแรงเฉือนทะลุของตัวอย่างพื้นคอนกรีตอัดแรงที่อยู่ภายใต้แรงกระทำจากแผ่นดินไหวตัวอย่างที่ 1 ซึ่งเป็นพื้นคอนกรีตอัดแรงชนิดที่ไม่ได้ทำการเสริมด้วยเหล็กเสริมรับแรงเฉือนใดๆ ไปเป็นที่เรียบร้อยแล้วนะครับ โดยค่าที่ทำการทดสอบได้นั้นปรากฏว่าแผ่นพื้นของผมที่มีค่า GSR หรือ GRAVITY SHEAR … Read More

1 98 99 100 101 102 103 104 188