บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

คุณสมบัติของคอนกรีตที่ใช้ผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (SPUN MICRO PILE)

คุณสมบัติของคอนกรีตที่ใช้ผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) หินและทราย: ตรวจสอบ GRADATION ตามข้อกำหนดของมวลรวมผสม มอก.397-2524 ปูนซิเมนต์ปอร์ตแลนด์: ตามข้อกำหนดของ ASTM DESIGNATION c150 TYPE1 หรือ TYPE3 หรือตามข้อกำหนด มอก.397-2524 ประเภท1 หรือประเภท3 … Read More

เกณฑ์ในการพิจารณาว่าชั้นดินใดๆ นั้นจะมีโอกาสที่จะเกิดการ CONSOLIDATE หรือไม่

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาตอบคำถามของเพื่อนท่านหนึ่งที่ได้ถามผมมาในเพจส่วนตัวของผมว่า “หากเราจำเป็นที่จะต้องใช้ความยาวของเสาเข็มในอาคารที่ไม่เท่ากัน ดังนั้นเราจึงมีความกังวลว่าโครงสร้างของชั้นดินนั้นจะเกิดการ CONSOLIDATE จนทำให้ในที่สุดตัวโครงสร้างเสาเข็มนั้นเกิดค่าระยะการทรุดตัวที่มีค่าแตกต่างกันได้ ซึ่งนอกจากผลจากการทดสอบค่าการรับ นน ของดินแล้ว เรายังมีวิธีในการตรวจสอบสถานะของชั้นดินนี้ว่ามีคุณสมบัติด้านการต้านทานการทรุดตัวนี้ด้วยวิธีการอื่นๆ อีกหรือไม่ ?” ก่อนอื่นผมขอชมเชยเพื่อนท่านนี้ก่อนนะครับ เพราะ การที่เพื่อนท่านนี้เป็นกังวลในประเด็นนี้แสดงว่ามีความรู้ทางด้านงานวิศวกรรมธรณีเทคนิคมากพอสมควรเลยนะครับ และ เป็นการดีแล้วครับที่วิศวกรอย่างเราๆ จะเป็นห่วงว่าโครงสร้างเสาเข็มของเราจะเกิดปัญหาประเด็นนี้ขึ้น เพราะ หากปล่อยให้เกิดปัญหาดังกล่าวขึ้นจริงๆ … Read More

การคำนวณหาค่าการเสียรูปในโครงสร้าง คสล

ref: https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1370505116328943:0 สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากเมื่อวันก่อนที่ผมได้อธิบายไปเกี่ยวกับเรื่องการคำนวณหาค่าการเสียรูปในโครงสร้าง คสล และเมื่อวานนี้มีน้องวิศวกรท่านหนึ่งได้หลังไมค์มาถามผมเกี่ยวกับเรื่องๆ นี้พอดี ผมเห็นว่าเนื้อหานั้นน่าสนใจจึงตัดสินใจนำมาบอกเล่าต่อแก่เพื่อนๆ ด้วยนะครับ น้องท่านนี้ถามผมว่า จากที่ผมได้ระบุว่าวิธีการประมาณค่า STIFFNESS ตาม มยผ 1302 หน้าที่ 50 โดยใน มยผ ได้ระบุเอาไว้ว่า การกำหนดค่า … Read More

สาเหตุทางกายภาพของการเกิด รูตามด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาอธิบายถึงสาเหตุทางกายภาพของการเกิด รูตามด ซึ่งก็จะรวมไปถึงเทคนิคในการทำงานอย่างไร ที่จะช่วยทำให้ รูตามด นั้นเกิดขึ้นน้อยลงหรือไม่เกิดขึ้นเลยเมื่อเพื่อนๆ ต้องทำงานเทคอนกรีตสดไปในโครงสร้างนะครับ   เรามาเริ่มต้นกันที่สาเหตุก่อนก็แล้วกันนะครับ … Read More

1 97 98 99 100 101 102 103 188