สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน
หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ
ไหนๆ สัปดาห์นี้ผมก็พูดถึงเรื่อง การออกแบบโครงสร้างเหล็กรับแรงดัด แล้วก็ขอพูดถึงหัวข้อนี้ตลอดสัปดาห์เลยก็แล้วกันนะครับ สัปดาห์ต่อๆ ไปจะได้นำหัวข้ออื่นๆ มาพูดถึงบ้าง ดังนั้นในวันนี้เพื่อให้ต่อเนื่องจากโพสต์ของเมื่อวาน ผมจึงจะขออนุญาตมาพูดถึงหัวข้อ ระยะการค้ำยันทางด้านข้าง ในการออกแบบโครงสร้างเหล็กรับแรงดัด ก็แล้วกันนะครับ
ผมขออ้างอิงไปที่มาตรฐาน AISC โดยวิธีการออกแบบ LRFD นะครับ ซึ่งได้ระบุเอาไว้ว่า การที่เราจะนิยามว่าการ ค้ำยันทางด้านข้าง ได้ก็ต่อเมื่อ การค้ำยันที่เกิดขึ้นนั้น เป็นการค้ำยันไปที่ด้านที่รับแรงอัด (COMPRESSION FIBER) ของหน้าตัดเท่านั้นนะครับ โดยที่มาตรฐานการออกแบบดังกล่าวได้ทำการกำหนดพิกัดสูงสุดของระยะ Lp และ Lr เอาไว้ดังนี้ครับ
พิกัดระยะ Lp
สำหรับเหล็ก OPEN SECTION เช่น เหล็ก H-BEAM SECTION เหล็ก C-CHANNEL SECTION เป็นต้น ให้คำนวณค่า Lp ได้จาก
Lp = 1.76 ry √(Es/Fy)
สำหรับเหล็ก CLOSED SECTOION เช่น เหล็ก HOLLOW SQUARE SECTION เหล็ก HOLLOW RECTANGULAR SECTION เป็นต้น ให้คำนวณค่า Lp ได้จาก
Lp = 0.13 ry Es √(J A) / (Fy Z)
พิกัดระยะ Lr
สำหรับเหล็ก OPEN SECTION เช่น เหล็ก H-BEAM SECTION เหล็ก C-CHANNEL SECTION เป็นต้น ให้คำนวณค่า Lp ได้จาก
Lr = ry X1 √{1+√[1+X2(Fy – Fr)^(2)]} / (Fy – Fr)
สำหรับเหล็ก CLOSED SECTOION เช่น เหล็ก HOLLOW SQUARE SECTION เหล็ก HOLLOW RECTANGULAR SECTION เป็นต้น ให้คำนวณค่า Lp ได้จาก
Lr = 2 ry Es √(J A) / Mr
เป็นยังไงบ้างครับ คงไม่น่าที่จะยากเกินไปนะครับ เอาเป็นว่าต่อไปผมจะมาอธิบายค่าต่างๆ ในสมการข้างต้นพร้อมกับยก ตย ง่ายๆ ในการคำนวณหาค่าระยะค้ำยันทางด้านข้างแก่ทุกๆ คนก็แล้วกันนะครับ เพื่อนๆ ท่านใดมีความสนใจก็สามารถที่จะติดตามอ่านบทความนี้ได้ในวันพรุ่งนี้นะครับ
หวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านในวันนี้จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
ADMIN JAMES DEAN
บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service) Certified by SGS (Thailand) Ltd.
บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม มอก. 397-2524 เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 15-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดิน แต่ละพื้นที่ ทดสอบโดย Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม
รายการเสาเข็มภูมิสยาม
1. สี่เหลี่ยม S18x18 cm.
รับน้ำหนัก 15-20 ตัน/ต้น
2. กลม Dia 21 cm.
รับน้ำหนัก 20-25 ตัน/ต้น
3. กลม Dia 25 cm.
รับน้ำหนัก 25-35 ตัน/ต้น
4. กลม Dia 30 cm.
รับน้ำหนัก 30-50 ตัน/ต้น
(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)
☎ สายด่วนภูมิสยาม:
082-790-1447
082-790-1448
082-790-1449
081-634-6586
? Web:
bhumisiam.com
micro-pile.com
spun-micropile.com
microspunpile.com
bhumisiammicropile.com